ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี
การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่นสีน้ำตาล นกแว่นสีเทา นกหว้า และนกยูงไทย 5 ชนิด จากการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของไซโตโครมบีในไมโตคอนเดรียจำนวน 280 คู่เบส พบว่ามีความผันแปรของนิวคลีโอไทด์ 66 แห่ง มีความผันแปรที่สามารถนำไปคำนาณหาไฟโลเจนนิติคทรีจำนวน 29 แห่ง การเปลี่ยน...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15302 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.15302 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.153022011-06-17T02:43:25Z ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี Phylogenetic relationship among Hume's pheasant peacock pheasant and peafowl based on cytochron b วีณา เมฆวิชัย สุจินดา มาลัยวิจิตนนท์ สุกมล ศรีขวัญ ทวีศักดิ์ ตีระวัฒนพงษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ ไก่ฟ้าหางลายขวาง ไซโตโครมบี นกแว่น นกยูงไทย การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่นสีน้ำตาล นกแว่นสีเทา นกหว้า และนกยูงไทย 5 ชนิด จากการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของไซโตโครมบีในไมโตคอนเดรียจำนวน 280 คู่เบส พบว่ามีความผันแปรของนิวคลีโอไทด์ 66 แห่ง มีความผันแปรที่สามารถนำไปคำนาณหาไฟโลเจนนิติคทรีจำนวน 29 แห่ง การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่เป็นแบบทรานซิซัน พบมากที่โคดอนที่สามและเป็นเบสชนิดกัวนินในเปอร์เซนต์ต่ำที่สุด 13.76 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการ โดยวิธีพาซิมโมนี พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มไก่ฟ้าได้เป็น 3 กลุ่มคือ ไก่ฟ้าหางลายขวาง นกยูงและกลุ่มนกหว้า นกแว่น นอกจากนั้นพบว่านกแว่นสีน้ำตาลและนกแว่นสีเทามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากที่สุดและทั้งสองชนิดมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับนกหว้า มากกว่านกยูงและไก่ฟ้าหางลายขวาง Phylogenetic relationship among five species of Hume’s Pheasant, Malaysian Peacock Pheasant, Grey Pheasant, Great Argus and Green Peafowl were studied based on sequence of mitochondrial cytochrom b 280 base pairs. The total number of variable and phylogenetically informative sites were 66 and 29, respectively. Nucleotide substitution was high frequency in transition, especially in third position codons and deficiency of guanine (13.76%). Phylogenetic analysis by parsimony method appeared that there are three divergent groups of Hume’s Pheasant, Green Peafowl and Grey Pheasant. Malaysian and Grey Peacock Pheasant were the most closely related and this group was more closely related to Great Aurgus than Peafowl and Hume’s Pheasant. กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 2011-06-17T02:43:24Z 2011-06-17T02:43:24Z 2544 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15302 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4192711 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไก่ฟ้าหางลายขวาง ไซโตโครมบี นกแว่น นกยูงไทย |
spellingShingle |
ไก่ฟ้าหางลายขวาง ไซโตโครมบี นกแว่น นกยูงไทย วีณา เมฆวิชัย สุจินดา มาลัยวิจิตนนท์ สุกมล ศรีขวัญ ทวีศักดิ์ ตีระวัฒนพงษ์ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
description |
การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่นสีน้ำตาล นกแว่นสีเทา นกหว้า และนกยูงไทย 5 ชนิด จากการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ของไซโตโครมบีในไมโตคอนเดรียจำนวน 280 คู่เบส พบว่ามีความผันแปรของนิวคลีโอไทด์ 66 แห่ง มีความผันแปรที่สามารถนำไปคำนาณหาไฟโลเจนนิติคทรีจำนวน 29 แห่ง การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่เป็นแบบทรานซิซัน พบมากที่โคดอนที่สามและเป็นเบสชนิดกัวนินในเปอร์เซนต์ต่ำที่สุด 13.76 เปอร์เซ็นต์ จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการ โดยวิธีพาซิมโมนี พบว่า สามารถแบ่งกลุ่มไก่ฟ้าได้เป็น 3 กลุ่มคือ ไก่ฟ้าหางลายขวาง นกยูงและกลุ่มนกหว้า นกแว่น นอกจากนั้นพบว่านกแว่นสีน้ำตาลและนกแว่นสีเทามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากที่สุดและทั้งสองชนิดมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับนกหว้า มากกว่านกยูงและไก่ฟ้าหางลายขวาง |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ วีณา เมฆวิชัย สุจินดา มาลัยวิจิตนนท์ สุกมล ศรีขวัญ ทวีศักดิ์ ตีระวัฒนพงษ์ |
format |
Technical Report |
author |
วีณา เมฆวิชัย สุจินดา มาลัยวิจิตนนท์ สุกมล ศรีขวัญ ทวีศักดิ์ ตีระวัฒนพงษ์ |
author_sort |
วีณา เมฆวิชัย |
title |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
title_short |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
title_full |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
title_sort |
ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชิงวิวัฒนาการของไก่ฟ้าหางลายขวาง นกแว่น และนกยูงไทย โดยวิเคราะห์จากไซโตโครมบี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15302 |
_version_ |
1681413523596378112 |