ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชิดชนก อัศวโภคี
Other Authors: นัยนันทน์ อริยกานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15319
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.15319
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กรดเอทิลีนไดอะมีนเตตราอะซีติก
การบำบัดโดยพืช
การกำจัดของเสียในดิน
แคดเมียม
spellingShingle กรดเอทิลีนไดอะมีนเตตราอะซีติก
การบำบัดโดยพืช
การกำจัดของเสียในดิน
แคดเมียม
ชิดชนก อัศวโภคี
ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 นัยนันทน์ อริยกานนท์
author_facet นัยนันทน์ อริยกานนท์
ชิดชนก อัศวโภคี
format Theses and Dissertations
author ชิดชนก อัศวโภคี
author_sort ชิดชนก อัศวโภคี
title ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
title_short ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
title_full ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
title_fullStr ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
title_full_unstemmed ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn.
title_sort ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน helianthus annuus linn.
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15319
_version_ 1681412918396059648
spelling th-cuir.153192014-05-11T13:56:18Z ผลของตัวคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน Helianthus annuus Linn. Effects of chelating agents on cadmium accumulation of sunflower Helianthus annuus Linn. ชิดชนก อัศวโภคี นัยนันทน์ อริยกานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย กรดเอทิลีนไดอะมีนเตตราอะซีติก การบำบัดโดยพืช การกำจัดของเสียในดิน แคดเมียม วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 การศึกษาผลของคีเลตต่อการสะสมแคดเมียมของทานตะวัน (Helianthus annuus Linn.) โดยการปลูกทานตะวันในกระถางทดลองที่เติมสารละลายแคดเมียมไนเตรต (Cd(NO[subscript 3])[subscript 2]4H[subscript 2]O) ความเข้มข้น 20 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม หลังจากการปลูกพืชเป็นเวลา 35 วันทำการเติมคีเลต 3 ชนิดคือ EDTA ความเข้มข้น 0.05 0.1 0.15 และ 0.2 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม EDDS และ citric acid ความเข้มข้น 0.5 1.0 1.5 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม โดยการเติมคีเลตแต่ละชนิดจะแบ่งเติม 1 2 และ 3 ครั้ง หลังจากนั้นทำการเก็บเกี่ยวพืชและทำการวิเคราะห์หาแคดเมียมในส่วนเหนือดิน ราก และทั้งต้น ผลการศึกษาพบว่าการเติม EDTA ความเข้มข้น 0.15 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัมเป็นจำนวน 2 ครั้ง มีการสะสมแคดเมียมในรากมากที่สุดคือ 222 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น้ำหนักแห้ง ซึ่งผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าชุดการทดลอง blank ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.05 mg/kg แบ่งเติมเป็นจำนวน 3 ครั้ง ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.1 mg/kg แบ่งเติมเป็นจำนวน 2 และ 3 ครั้ง ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.15 mg/kg แบ่งเติมเป็นจำนวน 2 และ 3 ครั้ง ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.2 mg/kg แบ่งเติมเป็นจำนวน 1 ครั้ง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ส่วนการเติม EDTA ความเข้มข้น 0.15 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม จำนวน 1 ครั้ง พบว่ามีการสะสมแคดเมียมในส่วนเหนือพื้นดินมากที่สุดคือเท่ากับ 17 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักแห้งซึ่งผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าชุดการทดลอง blank ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.05 mg/kg เป็นจำนวน 1 2 และ 3 ครั้ง ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.1 mg/kg เป็นจำนวน 2 ครั้ง ชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 1.5 mg/kg เป็นจำนวน 1 และ 2 ครั้ง และชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 2.0 mg/kg เป็นจำนวน 1 ครั้ง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% นอกจากนี้การเติม EDTA ความเข้มข้น 0.15 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม จำนวน 1 ครั้ง ยังทำให้มีการสะสมแคดเมียมในทั้งต้นมากที่สุดคือ 25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน้ำหนักแห้ง ซึ่งผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าชุดการทดลอง blank control ชุดการทดลองที่เติม EDTA ทุกชุดมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ยกเว้นชุดการทดลองที่เติม EDTA ความเข้มข้น 0.1 mg/kg เป็นจำนวน 1 และ 3 ครั้ง เหตุผลที่ EDTA ที่ความเข้มข้น 0.15 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม ทำให้แคดเมียมสะสมในทานตะวันมากที่สุด น่าจะเป็นเพราะความสามารถของ EDTA ที่สลายตัวได้ช้าเมื่อเทียบกับ EDDS และ citric acid จึงทำให้สามารถปลดปล่อยแคดเมียมให้มาอยู่ในสารละลายได้มากกว่า EDDS และ citric acid จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า ชนิดของคีเลต ความเข้มข้นของคีเลต และวิธีการเติมคีเลตที่เหมาะสมในการทดลองครั้งนี้คือ การเติม EDTA ความเข้มข้น 0.15 มิลลิกรัมต่อดิน 1 กิโลกรัม จำนวน 1 ครั้ง ทำให้มีการสะสมแคดเมียมในส่วนเหนือพื้นดินมากที่สุด. The effects of chelating agents on cadmium accumulation of sunflower (Helianthus annuus Linn.) were studied. The plant was grown in experimental pot added with cadmium nitrate (Cd(NO[subscript 3])[subscript 2]4H[subscript 2]O) solution at 20 mg Cd/kg soil. After 35 day of growth, three kinds of chelating agents were added. EDTA at concentrations 0.05, 0.1, 0.15 and 0.2 mg/kg, EDDS and citric acid each at concentrations 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 mg/kg were separately added to the soil. Each chelating agent was divided to add at 1, 2 and 3 times. Plants were harvested and cadmium accumulation in shoot, roots and total plants was analyzed. The results showed that EDTA at 0.15 mg/kg which was added twice resulted in maximum concentrations of cadmium in root (222 mg/kg dry weight). The statistical analysis showed that there was significantly different with blank, EDTA 0.05 mg/kg which was added at 3 times, EDTA 0.1 mg/kg which was added at 2 and 3 times EDTA 0.15 mg/kg which was added at 2 and 3 times and EDTA 0.2 mg/kg which was added at 1 time at 95% confidence. In the pot added with EDTA 0.15 mg/kg, 1 time result in maximum concentrations of cadmium in shoot (17 mg/kg dry weight). The statistical analysis showed that there was significantly different with blank, EDTA 0.05 mg/kg which was added at 1, 2 and 3 times, EDTA 0.1 mg/kg which was added at 3 times EDTA 0.15 mg/kg which was added at 1 and 2 times and EDTA 0.2 mg/kg which was added at 1 time at 95% confidence. In the pot added with EDTA 0.15 mg/kg, 1 time result in maximum concentrations of cadmium in total (25 mg/kg dry weight). The statistical analysis showed that there was significantly different with blank, control, and all EDTA at 95% confidence except EDTA 0.15 mg/kg which was added at 1 and 3 times. The reasons of maximum concentrations of cadmium in the plants which added EDTA at 0.15 mg/kg may be the rate of decomposition of EDTA is more slowly than EDDS and citric acid so cadmium can be released into the soil solution more than the two agents. It can be concluded that the optimum type of chelate, concentration of chelate, and the apply method was EDTA concentration 0.15 mg/kg and added at 1 time. This apply method result in the maximum cadmium accumulation in shoot and total of sunflower. 2011-06-27T08:18:45Z 2011-06-27T08:18:45Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15319 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9562897 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย