การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์
Other Authors: รุ่งนภา พิตรปรีชา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15320
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.15320
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ระบบเตือนภัยสึนามิ -- การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์
spellingShingle ระบบเตือนภัยสึนามิ -- การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์
ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์
การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
author2 รุ่งนภา พิตรปรีชา
author_facet รุ่งนภา พิตรปรีชา
ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์
format Theses and Dissertations
author ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์
author_sort ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์
title การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
title_short การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
title_full การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
title_fullStr การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
title_full_unstemmed การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
title_sort การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15320
_version_ 1681408690051088384
spelling th-cuir.153202011-06-27T08:35:07Z การประเมินประสิทธิภาพผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ The evaluation of the public relations effectiveness of Tsunami warning system ชื่นนภา กัลยาพิเชฎฐ์ รุ่งนภา พิตรปรีชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ ระบบเตือนภัยสึนามิ -- การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 การวิจัยนี้เป็นการวิจัย 2 เชิง คือเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์และประเมินประสิทธิผลการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิในจังหวัดภูเก็ต โดยศึกษาการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ และทัศนคติที่มีต่อการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิของประชาชนในจังหวัดภูเก็ต และความสัมพันธ์ระหว่าง การเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ และทัศนคติที่มีต่อการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิของประชาชนในจังหวัดภูเก็ต การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์บุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ 2 ราย และศึกษาค้นคว้าจากเอกสารต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ ผลการศึกษาพบว่ามีการใช้กลยุทธ์การเลือกใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ สื่อมวลชน สื่อเฉพาะกิจ สื่อบุคคล สื่ออินเตอร์เน็ต รวมทั้งใช้กลยุทธ์การสื่อสารในภาวะวิกฤตเพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นโดยฉับพลัน นอกจากนี้ยังมีการใช้การสื่อสารความเสี่ยงไปสู่ประชาชนซึ่งอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยให้ประชาชนเหล่านั้นยอมรับความเสี่ยงและพร้อมที่จะรับมือกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในด้านการวิจัยเชิงปริมาณ กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนในเขตจังหวัดภูเก็ต จำนวนทั้งสิ้น 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานในการหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 3 ตัวดังกล่าว โดยใช้การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ส่วนการวิเคราะห์ผลข้อมูลใช้การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ผลการวิจัยเชิงปริมาณ มีดังนี้ 1) ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ มีการเปิดรับข่าวสารจากสื่อประชาสัมพันธ์เรื่องระบบเตือนภัยสึนามิในระดับปานกลาง โดยที่ประชาชนส่วนใหญ่เปิดรับข่าวสารเรื่องระบบเตือนภัยสึนามิ จากสื่อโทรทัศน์มากที่สุด นอกจากนี้ ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ มีการรับรู้เกี่ยวกับระบบเตือนภัยสึนามิอยู่ในระดับสูง มีทัศนคติในระดับเป็นกลางต่อระบบเตือนภัยสึนามิ 2) ระดับการเปิดรับข่าวสารจากสื่อต่างๆ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้เกี่ยวกับระบบเตือนภัยสึนามิของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ 3) การเปิดรับข่าวสารจากสื่อต่างๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติที่มีต่อระบบเตือนภัยสึนามิของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ 4) การรับรู้เกี่ยวกับระบบเตือนภัยสึนามิมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติที่มีต่อระบบเตือนภัยสึนามิของประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ. The objectives of this research were to study the strategies used and the effectiveness of communication of Tsunami warning system. Data were collected from documents, media products as well as interview of staff in department of National Disaster Warning Center. The effectiveness was also examined through exposure to information about, perception on, attitude toward the Tsunami warning system outcome were analyzed through 400 questionnaires collected from the Phuket inhabitants. The results of this research show that the principle strategies are to use mass media, specialized media, personal media and internet. Including to crisis management and risk communiation are another strategy that were used. The results of the study were as follows: 1) Most people in Phuket exposed at moderate level to Tsunami warning system information. People were exposed to television the most and perceive about the Tsunami warning system highly. People in effected area had neutral attitudes toward Tsunami warning system. 2) Exposure to media about Tsunami warning system were positively correlated with people's perception on this topic. 3) Exposure to media about Tsunami warning system were negatively correlated with people' attitude toward this topic. 4) People's perception about Tsunami warning system was positively correlated with people' attitude toward this topic. 2011-06-27T08:35:06Z 2011-06-27T08:35:06Z 2549 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15320 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2337906 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย