การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15512 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.15512 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.155122011-07-18T09:32:01Z การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง Unrelated parallel workstation scheduling with lot-splitting in a lace production plant พิมพ์ประไพ ไทยเนียม สีรง ปรีชานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ การกำหนดลำดับงาน การกำหนดงานการผลิต การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ ฮิวริสติกอัลกอริทึม อุตสาหกรรมลูกไม้ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ผู้วิจัยทำการพิจารณาระบบผลิตของโรงงานผู้ผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่งที่มีการผลิตเป็นแบบตามสั่ง (made-to-order) ด้วยเครื่องจักรขนานที่ไม่สัมพันธ์กัน (unrelated parallel machine) ซึ่งสามารถควบคุมเวลาที่ใช้ในการผลิตได้ (controllable processing time) และเครื่องจักรแต่ละเครื่องสามารถผลิตงานมากกว่าหนึ่งงานได้ในเวลาเดียวกัน โรงงานผู้ผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่งประสบกับปัญหาที่สำคัญสองประการคือ ต้นทุนการผลิตสูงและเวลาในการส่งมอบงานล่าช้า งานวิจัยนี้นำฮิวริสติกการค้นหาแบบข้อห้ามชนิดหลายวัตถุประสงค์ ที่ใช้ฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็นแบบอเนกนาม (Multinomial tabu search algorithm : MTS) มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางการผลิตที่มีวัตถุประสงค์สองประการ ได้แก่ 1) เพื่อลดต้นทุนการผลิต ซึ่งสามารถสะท้อนได้ด้วยเวลาเดินเครื่องเปล่ารวม (total idle time) และ 2) ลดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน ซึ่งสามารถสะท้อนได้ด้วยผลรวมของอัตราส่วนระหว่างเวลาเสร็จงานจริงต่อเวลาเสร็จงานตามสัญญา (total completion time ratio) จากนั้นออกแบบการทดลองเพื่อหาค่าพารามิเตอร์ของฮิวริสติกที่ใช้ในงานวิจัยที่เหมาะสมกับปัญหา แล้วเลือกตารางการผลิตที่ดีที่สุดเพียงคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ดีที่สุดด้วยวิธี Global criteria method จากผลการทดลองพบว่า วิธีการทางฮิวริสติกนั้นให้ตารางการผลิตที่ดีกว่าทั้งด้านต้นทุนการผลิตและเวลาเสร็จงาน นอกจากนี้เวลาที่ใช้ในการจัดตารางการผลิตยังลดลงอย่างเห็นได้ชัด. We consider a made-to-order, unrelated parallel machine lace production plant, where processing time is controllable and multiple jobs can be processed simultaneously on each machine. The lace production plant faces two serious problems – high production cost and late delivery. This research applies Multinomial Tabu Search Algorithm (MTS) to solve the production scheduling problem with two objectives: 1) to reduce production cost represented by total machine idle time and 2) to reduce completion time represented by actual vs. committed completion time ratio. The experiment is designed and conducted to determine suitable MTS parameters for this problem. Then, MTS is run, and through the Global Criteria Method, the best-found production schedule is chosen from the non-dominated solution set. The experimental results show that, with MTS, better set of solutions, both in terms of production cost and completion time can be obtained. Moreover, with MTS, computational time can be significantly reduced. 2011-07-18T09:32:00Z 2011-07-18T09:32:00Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15512 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1666744 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การกำหนดลำดับงาน การกำหนดงานการผลิต การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ ฮิวริสติกอัลกอริทึม อุตสาหกรรมลูกไม้ |
spellingShingle |
การกำหนดลำดับงาน การกำหนดงานการผลิต การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ ฮิวริสติกอัลกอริทึม อุตสาหกรรมลูกไม้ พิมพ์ประไพ ไทยเนียม การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
สีรง ปรีชานนท์ |
author_facet |
สีรง ปรีชานนท์ พิมพ์ประไพ ไทยเนียม |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พิมพ์ประไพ ไทยเนียม |
author_sort |
พิมพ์ประไพ ไทยเนียม |
title |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
title_short |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
title_full |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
title_fullStr |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
title_full_unstemmed |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
title_sort |
การจัดตารางการผลิตสำหรับหน่วยผลิตแบบขนานที่ไม่สัมพันธ์กันโดยมีการแยกล้อต ในโรงงานผลิตเทปลูกไม้เพื่อการตกแต่ง |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15512 |
_version_ |
1681411948669829120 |