การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15671 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.15671 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
แอมริโนน หัวใจวาย เลือด -- การไหลเวียน |
spellingShingle |
แอมริโนน หัวใจวาย เลือด -- การไหลเวียน ประการ จารุวัฒน์ การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 |
author2 |
ถาวร สุทธิไชยากุล |
author_facet |
ถาวร สุทธิไชยากุล ประการ จารุวัฒน์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ประการ จารุวัฒน์ |
author_sort |
ประการ จารุวัฒน์ |
title |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
title_short |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
title_full |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
title_fullStr |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
title_full_unstemmed |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
title_sort |
การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15671 |
_version_ |
1681409470387716096 |
spelling |
th-cuir.156712011-08-15T07:14:23Z การศึกษาผลของยาแอมริโนนต่อการไหลเวียนของโลหิตในผู้ป่วย ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง Effect of amrinone on hemodynamics of patients with severe congestive heart failure ประการ จารุวัฒน์ ถาวร สุทธิไชยากุล เดือนฉาย ชยานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย แอมริโนน หัวใจวาย เลือด -- การไหลเวียน วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินการตอบสนองต่อยาแอมริโนนทางคลินิก, ทางการไหลเวียนของโลหิตและทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง โดยใช้รูปแบบการวิจัยเป็น pre and post experimental design และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย student's paired t-test ผู้ป่วยที่ได้รับการคัดเลือกเข้าทำการศึกษา เป็นผู้ป่วยในของแผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 10 คน ผู้ป่วยทั้งหมดมีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรงจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, ลิ้นหัวใจรั่ว หรือกล้ามเนื้อหัวใจพิการ การให้ยาแอมริโนนใช้วิธี bolus เข้าหลอดเลือดดำ แล้วตามด้วย maintenance infusion ตลอด 24 ชม. ผู้ป่วยจะได้รับการใส่สายสวนเข้าไปในหลอดเลือดแดงปอด เพื่อวัด hemodynamic indices ต่าง ๆ ก่อนให้ยาแอมริโนนทางหลอดเลือดดำ และหลังให้ยาแล้ว 0.5, 1, 3, 6, 12 และ 24 ชม ส่วนอาการทางคลินิกและผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ จะได้รับการบันทึกเมื่อก่อนให้ยา และหลังให้ยา 24 และ 48 ชม. คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะได้รับการ monitor ตลอดเวลา 24 ชม. ที่ผู้ป่วยได้รับยาทางหลอดเลือดดำ ผลการวิจัยพบว่า แอมริโนนสามารถเพิ่ม cardiac index ได้สูงสุด 48%, เพิ่ม stroke volume index สูงสุด 54%, เพิ่ม left ventricular stroke work index สูงสุด 60%, เพิ่ม right ventricular stroke work index สูงสุด 54%, ลด systemic vascular resistance สูงสุด 29% แต่อัตราการเต้นของหัวใจ, mean pulmonary arterial pressure, mean aortic pressure, pulmonary vascular resistance index และ pulmonary capillary wedge pressure ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 90% ของผู้ป่วยที่ได้รับยา มีอาการทางคลินิกดีขึ้นภายในเวลา 48 ชม. ผลข้างเคียงที่สำคัญของยาคือภาวะเกร็ดเลือดต่ำ ซึ่งพบได้ในผู้ป่วย 2 ราย โดยที่ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงทางคลินิก จากผลการวิจัยนี้สรุปได้ว่า แอมริโนนสามารถทำให้อาการทางคลินิกและการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรุนแรง และผลข้างเคียงจากยาที่สำคัญที่สุดคือ ภาวะเกร็ดเลือดต่ำโดยไม่มีอาการและอาการแสดงทางคลินิก This research aimed to evaluate the clinical, hemodynamic and laboratory responses to amrinone in patients with severe congestive heart failure. The research was pre and post experimental design. Student's t-test was selected for statistical analysis. Ten patients, admitted in department of medicine at Chulalongkorn Hospital, were enrolled to this study. All the patients had severe congestive heart failure form ischemic heart disease or valvular heart disease or dilated cardiomyopathy. Amrinone, an inodilator, was bolus injected and infused for 24 hours. Pulmonary artery cathetherization was performed to measure all hemodynamic indices before and at the hour of 0.5, 1, 3, 6, 12 and 24 after amrinone infusion. The clinical and laboratory changes were recorded before and at 24 and 48 hours after the amrinone administration. The ECG was continually monitored during this 24 hour-infusion. Amrinone could improve most of hemodynamic indicies. It increased maximal cardiac index by 48%, maximal stroke volume index by 54% maximal left ventricular stroke work index by 60% and maximal right ventricular stroke work index by 54%. It decreased systemic vascular resistance maximally by 29%. The changes in heart rate, mean pulmonary arterial pressure, mean aortic pressure, pulmonary vascular resistance index and pulmonary capillary wedge pressure were not statistically significant. 90% of patients had clinical improvements within 48 hours with amrinone infusion. The important adverse effect was asymptomatic thrombocytopenia which was found in 2 cases. In conclusion, amrinone improves clinical and hemodynamic parameters in patients with severe congestive heart failure and the important adverse effect is asymptomatic thrombocytopenia 2011-08-15T07:14:22Z 2011-08-15T07:14:22Z 2538 Thesis 9746322524 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15671 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5972706 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |