ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15733 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.15733 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.157332011-08-20T03:15:02Z ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ The effect of the perceived self-efficacy promoting program on exercise behavior of patients with coronary artery disease พรทนา พฤกษ์ธรางกูร รัตน์ศิริ ทาโต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค -- ผู้ป่วย ความสามารถในตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยใช้แนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย และได้รับการรักษาด้วยยา จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน โดยจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้ใกล้เคียงกัน ในเรื่อง อายุ เพศ ระดับความรุนแรงของโรค ภาวะเจ็บป่วยร่วม และพฤติกรรมการออกกำลังกายในอดีต จับฉลากกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ และกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนที่ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) การใช้คำพูดชักจูง 2) การได้เห็นตัวแบบ 3) ประสบการณ์ที่สำเร็จด้วยตนเอง และ 4) การกระตุ้นทางร่างกายและอารมณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนที่ประกอบด้วย แผนการสอน ภาพพลิก และคู่มือเรื่องการปฏิบัติตัวและการออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยง มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ .87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ หลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ หลังการทดลองของกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01). This study was a quasi-experimental design aimed to examine the effect of the perceived self - efficacy promoting program on exercise behavior of patients with coronary artery disease. The self-efficacy Theory of Bandura (1997) was utilized to develop the intervention. Subjects were 40 coronary artery disease patients after infarction receiving medical treatment. Participants were matched by age, sex, NYHA classification, comorbidity, and previous exercise behavior. Subjects were randomly assigned to control and experimental group, 20 for each group. The control group received routine nursing care while the experimental group received the perceived self-efficacy promoting program. The perceived self-eficacy promoting program consisted of 4 steps: 1) Verbal persuation, 2) Modeling, 3) Enactive mastery experience, and 4) Physiological and emotional arousal. The intervention included lesson plan, flip charts and handbook. Data on exercise behavior was collected using a questionnaire. It was tested for content validity and reliability. Cronbach’s alpha coefficient of the questionnaire was at .87. Data were analyzed using descriptive and t- test statistics. Major findings were as follow: 1. The mean score of exercise behavior of the patients with coronary artery disease after receiving the perceived self-efficacy promoting program was significantly higher than before receiving the program (p < .01). 2. The mean score of exercise behavior of the patients with coronary artery disease in the experimental group after receiving the self-efficacy promoting program was significantly higher than those of the control group (p < .01). 2011-08-20T03:15:02Z 2011-08-20T03:15:02Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15733 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2470068 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค -- ผู้ป่วย ความสามารถในตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ |
spellingShingle |
หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค -- ผู้ป่วย ความสามารถในตนเอง การส่งเสริมสุขภาพ พรทนา พฤกษ์ธรางกูร ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
รัตน์ศิริ ทาโต |
author_facet |
รัตน์ศิริ ทาโต พรทนา พฤกษ์ธรางกูร |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พรทนา พฤกษ์ธรางกูร |
author_sort |
พรทนา พฤกษ์ธรางกูร |
title |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
title_short |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
title_full |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
title_sort |
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15733 |
_version_ |
1681413341791125504 |