ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เพ็ญนภา ดีชัยยะ
Other Authors: ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15776
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.15776
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
บรรษัทภิบาล
จรรยาบรรณทางธุรกิจ
โลกาภิวัตน์
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
spellingShingle ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ
บรรษัทภิบาล
จรรยาบรรณทางธุรกิจ
โลกาภิวัตน์
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
เพ็ญนภา ดีชัยยะ
ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
author_facet ศิริเชษฐ์ สังขะมาน
เพ็ญนภา ดีชัยยะ
format Theses and Dissertations
author เพ็ญนภา ดีชัยยะ
author_sort เพ็ญนภา ดีชัยยะ
title ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
title_short ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
title_full ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
title_fullStr ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
title_full_unstemmed ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
title_sort ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15776
_version_ 1681409747482312704
spelling th-cuir.157762011-08-24T11:25:01Z ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจในฐานะบรรทัดฐานทางสังคมในบริบทโลกาภิวัตน์ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด Corporate social responsibility (CSR) of business organization as a social norm in globalization context : a case study of Maptaphut Industrial Estate เพ็ญนภา ดีชัยยะ ศิริเชษฐ์ สังขะมาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ บรรษัทภิบาล จรรยาบรรณทางธุรกิจ โลกาภิวัตน์ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การวิจัยนี้เริ่มจากแนวคิดที่ว่าประชาคมโลกกำลังเผชิญกับปัญหาจากการพัฒนาที่ขาดสมดุล ซึ่งเป็นผลพวงจากการมุ่งพัฒนาในเชิงเดี่ยว ที่ให้ความสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลักแต่เพียงด้านเดียว โดยมุ่งหวังเพื่อให้ปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาด้านอื่นๆ ตามมา แต่ในความเป็นจริงกลับเกิดผลในทางตรงข้าม โลกกำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤตทั้งทางด้านสังคม จริยธรรม รวมไปแม้แต่วิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม โดยที่ปัจจุบันกระแสที่เริ่มชัดเจนและทวีความสำคัญของการดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของความคิดที่ว่า ผลสำเร็จทางธุรกิจนั้นไม่สามารถวัดจากเพียงผลประกอบการ หากองค์กรธุรกิจที่ประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนนั้น จะต้องสามารถตอบสนองต่อความคาดหวังของสังคมที่มีต่อองค์กรด้วย ธุรกิจที่เอารัดเอาเปรียบสังคมก็ไม่สามารถอยู่ได้ หากได้รับการต่อต้านจากชุมชนและสังคมซึ่งเป็นผู้บริโภค ดังนั้นความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ (Corporate Social Responsibility) หรือ CSR จึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นที่ทุกภาคส่วนต้องใส่ใจและร่วมกันสร้างบรรทัดฐาน เพื่อให้ธุรกิจและสังคมสามารถพัฒนาเติบโตไปด้วยกันได้อย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาสถานการณ์ความเคลื่อนไหวที่เป็นปัจจุบันต่อประเด็น CSR ของภาครัฐและองค์กรธุรกิจในประเทศไทย ตลอดจนความเชื่อมโยงของทั้งสองภาคส่วน รวมไปถึงศึกษาถึงความเข้าใจและการประยุกต์ใช้ CSR ขององค์กรธุรกิจไทยในบริบทโลกาภิวัตน์ ทั้งในภาพกว้างและการศึกษาเฉพาะกรณี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณประกอบกัน และมีการเลือกกรณีศึกษา ซึ่งเลือกกรณีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด เนื่องจากเป็นกรณีที่มีความโดดเด่นในการกล่าวถึงประเด็น CSR อย่างกว้างขวาง ในช่วงเวลาที่วิจัย ผู้วิจัยจึงเชื่อว่าเป็นกรณีที่สามารถนำมาศึกษาเพื่อเป็นตัวแทนในการวิเคราะห์ อภิปราย นำไปสู่บทสรุปผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า CSR ในสังคมไทยเริ่มมีมานานแล้ว หากแต่เป็นในรูปแบบของการให้บริจาค การบริจาค และการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่างๆ ขององค์กรธุรกิจ ต่อมามีการเรียกร้องให้เห็นความสำคัญของ CSR มากกว่านั้น กล่าวคือความรับผิดชอบของธุรกิจต้องรวมไปถึงการดูแลไม่ให้กระบวนการประกอบธุรกิจ ส่งผลกระทบต่อสังคมทั้งในทุกๆ ด้าน เช่น ไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสภาวะแวดล้อม ไม่มีการปฏิบัติต่อพนักงานหรือลูกจ้างอย่างไม่เป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค เป็นต้น ซึ่งในระยะแรก ภาคธุรกิจยังไม่มีการตอบรับที่ชัดเจน การทำ CSR ส่วนใหญ่จะเป็นไปในรูปแบบของการสร้างภาพลักษณ์มากกว่า แต่เมื่อประชาชน ภาคประชาสังคม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคสื่อสารมวลชน เริ่มให้เห็นความสำคัญของ CSR และออกมาเคลื่อนไหวกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องมาเป็นเวลาถึงสิบปี ประกอบกับการอยู่ในสังคมโลกาภิวัตน์ที่สังคมมีการรับรูปและเรียนรู้ เพื่อจะเตรียมพร้อมต่อประเด็นดังกล่าว ดังจะเห็นได้ชัดจากกรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซึ่งแรงขับจากภาคส่วนต่างๆ ถือเป็นแรงกดดันทางสังคม อันเป็นผลทำให้ภาครัฐต้องหันมาให้ความสำคัญ มีความชัดเจนต่อนโยบายเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวมากขึ้น อีกทั้งภาคธุรกิจก็ต้องยอมรับว่าการทำ CSR ตามความคาดหวังของสังคมนั้นเป็นสิ่งจำเป็นยิ่ง ซึ่งนับได้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญประการหนึ่งของสังคมไทย This research is based on a concept stating that the international community is faced with the problems of uneven development because of a focus in monocultural development and economic growth. Its aim is to use economic factors to stimulate general developments; however, it appears to generate the opposite effect. Therefore, the world is facing crisis of social, moral, and environment ramifications. For now the situation is quite clear, the increasing importance of doing business is based on the idea that business success is achieved by profits maximization instead meeting of social expectations. The success of business can be measures not only by the result of earning but also by meeting social expectation. Therefore, Businesses have to response to consumerEs needs in the social relevant way. This is why CSR is very important and necessary for staring criterion to which all sectors can improve business and social sustainable growth. The research particularly studied a current movement for CSR issue of government and business organization of Thai corporation in globalization. The researcher used a methodology combining qualitative and quantitative case study from the Maptaphut industrial estate. Maptaphut is unique and addressing CSR issues extensively; the researcher believes that this case can be studied as a representative in debate and analysis led to conclusions of this study. The research found that CSR in Thailand has existed for a long time but the enterprise did mostly donation and charity for social. Then, the request of more important of CSR was emphasized. All businesses should aware that their processes do not have the effect to social for example environment problem, having fair with employee and customer, etc. First, the business do not have clear respond and use CSR for image building for their own. After public and media sector had extremely movement for 10 years and because of globalization the social acknowledges and learn more about CSR for example the case study Maptaphut, the government sector emphasize more for Mapthaphut issue. The private sector also accept that it is very import to success CSR as socialEs expected. This situation is a turning point of Thai society. 2011-08-24T11:25:01Z 2011-08-24T11:25:01Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15776 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2771736 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย