การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: คมปราชญ์ บุตรศรี
Other Authors: วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15799
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.15799
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นครปฐม
นครปฐม -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
spellingShingle ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นครปฐม
นครปฐม -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว
คมปราชญ์ บุตรศรี
การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
author2 วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์
author_facet วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์
คมปราชญ์ บุตรศรี
format Theses and Dissertations
author คมปราชญ์ บุตรศรี
author_sort คมปราชญ์ บุตรศรี
title การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
title_short การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
title_full การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
title_fullStr การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
title_full_unstemmed การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
title_sort การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15799
_version_ 1681414077570613248
spelling th-cuir.157992013-07-13T08:37:51Z การศึกษาหาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม Administration model of tourist information center : a case study of tourist information center Nakohnpathom Province คมปราชญ์ บุตรศรี วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยว ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- นครปฐม นครปฐม -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของจังหวัด นโยบายของจังหวัดต่างๆ ในการสร้างศูนย์บริการนักท่องเที่ยวมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างโอกาส และรายได้ให้กับชุมชนต่างๆ ของจังหวัดรวมถึงสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวิถีชีวิต วัฒนธรรม โบรานสถาน และสินค้าท้องถิ่น ดังนั้น การจัดสร้างศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจึงมีความสำคัญต่อจังหวัดนั้นๆ วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว โดยศึกษาจากศูนย์บริการนักท่องเที่ยวแสดง และจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม เป็นกรณีศึกษา วิธีการศึกษา อาศัยข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาคสนาม การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถามและการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ เพื่อศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยวต่อการเข้ามาใช้บริการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยว และศึกษาสภาพปัญหา อุปสรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงาน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยสำคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาใช้บริการคือ บริการจำหน่ายอาหารที่มีชื่อเสียงของจังหวัด สินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และบริการร้านสะดวกซื้อ ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องพบว่า การสร้างและบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพควรประกอบด้วย ระเบียบราชการควรเอื้อให้มีความคล่องตัวในการบริหาร นโยบายและวัตถุประสงค์ในการบริหารต้องมีความต่อเนื่องในการนำไปปฏิบัติ และองค์กรทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร ผลการวิจัยสรุปรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บริการนักท่องเที่ยวที่มีประสิทธิภาพ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวควรประสานกับภาคเอกชนที่มีศักยภาพ และความคล่องตัวในการบริหารงาน เข้าเป็นส่วนหรือประกอบกิจการแทน และผลประโยชน์ในการดำเนินการควรมีการตั้งคณะกรรมการเพื่อบริหารจัดการ นอกเหนือจากนี้ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวควรพิจารณาปัจจัยที่มีอิทธิพลในการบริหารจัดการ ได้แก่ จัดเตรียมที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพให้มีความพร้อม จัดหาสินค้าและบริการที่มีชื่อเสียงและมีการพัฒนาคุณภาพสินค้า ผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย น่าสนใจ และตรงกับความต้องการของนักท่องเที่ยวเข้ามาจัดจำหน่าย การประชาสัมพันธ์ การประสานงาน และกลยุทธ์การตลาดที่มีประสิทธิภาพ และการบริหารจัดการที่ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง Tourist information center is important to the nation economic and local economic, especially in each Province. Tourist Information Center is aimed to create opportunity and income in the community. It creates value added to life style, coulter tourist action and local goods and service. This research is objected propos tourist information administration model using tourist information center at Nakohnpathom Province. File study and review have been conducted by using questionnaire, meeting and seminar. The data was analyzed in terms of the needs of the tourists who visited the center, the factors to gain efficient administration strategy, problems obstacles and limitations in its operation. The useful findings were expected to be used for creating guidelines on potential administration. It is found that the influence factors in tourist information center are famous food, OTOP products and convenient store service. The Experts advice that the success information center must have clear policy and objective, adaptive rules and regulation, local and nation cooperation of involved stakeholders. In conclusion, the successful administration model should consist of adequate location, complete needed facilities, good quality and famous goods, unique service, well plan advertising of marking strategy, and finally the corporation of stakeholders. 2011-08-25T10:40:15Z 2011-08-25T10:40:15Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15799 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2714046 bytes application/pdf application/pdf ไทย นครปฐม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย