ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์

วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524-
Other Authors: เขมรัฐ โอสถาพันธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1600
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1600
record_format dspace
spelling th-cuir.16002007-12-25T01:51:24Z ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ Effects of edta on cyanide treatment in wastewater by alkaline chlorination and hydrogen peroxide oxidation อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524- เขมรัฐ โอสถาพันธุ์ พิชญ รัชฎาวงศ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ น้ำเสีย--การบำบัด ไซยาไนด์ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 การวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความสามารถในการกำจัดไซยาไนด์ เมื่อมีการแปรค่าพีเอช ค่ากำลังไอออน อัตราส่วนของอีดีทีเอต่อไซยาไนด์ ความเข้มข้นของไฮโปคลอไรท์ และความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยใช้ความเข้มข้นของไซยาไนด์ที่ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลการทดลองพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสียสังเคราะห์เมื่อใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์คือที่ความเข้มข้นเท่ากับ 1.5 เท่าของความเข้มข้นไซยาไนด์ในเชิงโมลาร์ โดยใช้เวลาในการทำปฏิกิริยาไม่เกิน 10 นาที มีประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์มากกว่าร้อยละ 90 ในกรณีที่ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้นที่ใช้คือ 36 เท่าของความเข้มข้นไซยาไนด์ ซึ่งใช้เวลาในการทำปฏิกิริยานาน 180 นาที มีประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์มากกว่าร้อยละ 90 สำหรับผลการศึกษาผลของพีเอชและกำลังไอออนพบว่า พีเอชที่เหมาะสมในการกำจัดไซยาไนด์คือ 11 ส่วนกำลังไอออนที่สูงขึ้นไม่มีผลต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยไฮโปคลอไรท์ และเมื่อใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์พบว่าได้ผลเช่นเดียวกัน ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสียสังเคราะห์วิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นพบว่า อีดีทีเอที่เพิ่มมีค่าขึ้นทำให้ต้องการปริมาณสารเคมีเพิ่มมากขึ้น ส่วนการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้นของอีดีทีเอมีผลต่อการเกิดไซยาเนต ทำให้ความเข้มข้นไซยาเนตสูงสุดที่เกิดขึ้นลดลง ในการใช้สารเคมีร่วมกัน 2 ตัวพบว่า มีประสิทธิภาพต่ำกว่าการได้รับสารเคมีเพียงอย่างเดียว เนื่องจากประสิทธิภาพในการกำจัดไซยาไนด์ไม่เป็นแบบผสม สำหรับค่าใช้จ่าย 14 บาทต่อลบ.ม. วิธีการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีค่าใช้จ่าย 330 บาทต่อลบ.ม. และการใช้สารเคมีร่วมกัน มีค่าใช้จ่าย 90.5 บาทต่อลบ.ม. ที่ความเข้มข้น 100 มก. ไซยาไนด์ต่อลิตร ;This research was to investigate effects of EDTA on cyanide treatment in wastewater by alkaline chlorination and hydrogen peroxide oxidation. Comparisons of the efficiency and the ability of cyanide destruction were carried out by varying pH, ionic strength, ratio of cyanide to EDTA, hypochlorite and hydrogen peroxide dosing. In synthetic wastewater, the optimum hypochlorite dosing was 1.5 times (molar concentration) to the cyanide concentration, with less than 10 minutes of reaction. It yielded more than 90% cyanide removal. For hydrogen peroxide oxidant, we found the optimum dosing was 36 times (molar concentration) to the cyanide concentration, with 180 minutes for more than 90% cyanide removal. The optimum pH for both oxidants was found to be 11. Negligible effects of ionic strength on cyanide oxidation were observed. In presence of EDTA, it was found that higher dosing for hypochlorite needed to remove more than 90% of cyanide. In hydrogen peroxide oxidation, with presence of EDTA, the maximum concentration of cyanate was reduced. When using both chemicals together, the efficiency was lower than individual chemical because the efficiency was not additive. The cost of chemical for the cyanide treatment in alkaline chlorination is 14 baht/m[superscript 3], hydrogen peroxide oxidation is 330 baht/m[superscript 3] and combination of 2 chemicals is 90.5 baht/m[superscript 3] at 100 mg CN/L. 2006-08-09T07:51:11Z 2006-08-09T07:51:11Z 2547 Thesis 9741760825 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1600 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1285182 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic น้ำเสีย--การบำบัด
ไซยาไนด์
spellingShingle น้ำเสีย--การบำบัด
ไซยาไนด์
อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524-
ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 เขมรัฐ โอสถาพันธุ์
author_facet เขมรัฐ โอสถาพันธุ์
อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524-
format Theses and Dissertations
author อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524-
author_sort อู่แก้ว เอี่ยมสำอาง, 2524-
title ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
title_short ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
title_full ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
title_fullStr ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
title_full_unstemmed ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
title_sort ผลของอีดีทีเอต่อการกำจัดไซยาไนด์ในน้ำเสีย โดยวิธีอัลคาไลน์คลอริเนชั่นและปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1600
_version_ 1681408993543585792