การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2011
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16087 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.16087 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
หอยนางรมหนาม แพลงค์ตอนพืช กรดโดโมอิก เอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเส ลิควิดโครมาโตกราฟี |
spellingShingle |
หอยนางรมหนาม แพลงค์ตอนพืช กรดโดโมอิก เอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเส ลิควิดโครมาโตกราฟี ทิพวรรณ ยอดยิ่ง การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
ไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ |
author_facet |
ไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ ทิพวรรณ ยอดยิ่ง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ทิพวรรณ ยอดยิ่ง |
author_sort |
ทิพวรรณ ยอดยิ่ง |
title |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
title_short |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
title_full |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
title_fullStr |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
title_full_unstemmed |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
title_sort |
การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2011 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16087 |
_version_ |
1681411950363279360 |
spelling |
th-cuir.160872011-10-05T11:46:50Z การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor บริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี Seasonal variations of domoic acid accumulation in spiny oyster Spondylus cf. versicolor at Kham Yai Island, Chonburi province ทิพวรรณ ยอดยิ่ง ไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ หอยนางรมหนาม แพลงค์ตอนพืช กรดโดโมอิก เอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเส ลิควิดโครมาโตกราฟี วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 กรดโดโมอิก (domoic acid) เป็นสาเหตุของ amnesic shellfish poisoning (ASP) ที่ผลิตโดยไดอะตอมหลายชนิด เช่น Pseudo-nitzschia spp. และ Nitzschia spp. พิษของกรดโดโมอิกสะสมในหอยที่กรองกินแพลงก์ตอนพืชที่สร้างพิษเป็นอาหาร และถ่ายทอดพิษไปตามห่วงโซ่อาหารสู่ผู้บริโภคเช่นมนุษย์ได้ จึงศึกษาการสะสมกรดโดโมอิกในหอยนางรมหนาม Spondylus cf. versicolor และแพลงก์ตอนพืชที่กรองแยกจากน้ำทะเลบริเวณเกาะขามใหญ่ จังหวัดชลบุรี จำนวน 2 สถานี ในฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ด้วยวิธี Enzyme linked immunosorbent assay (ELISA) พบว่ากรดโดโมอิกในหอยนางรมหนามของทั้งสองสถานีมีค่าสูงสุดในเดือนพฤษภาคม โดยพบในอวัยวะส่วน digestive gland มากที่สุด สำหรับปริมาณกรดโดโมอิกในแพลงก์ตอนพืชที่กรองแยกจากน้ำทะเลพบมากสุดเดือนพฤษภาคมเช่นกัน โดยพบว่าในสถานี 1 ที่ระดับ 0.5 เมตร จากผิวน้ำทะเล แพลงก์ตอนพืชขนาดเซลล์ใหญ่กว่า 20 ไมโครเมตร และ ขนาดเซลล์เล็กกว่า 20 ไมโครเมตร มีปริมาณกรดโดโมอิก 1.01± 0.03 และ 0.54 ± 0.02 นาโนกรัม/ลิตร ตามลำดับ และที่ระดับ 0.5 เมตร จากพื้นทะเล แพลงก์ตอนพืชขนาดเซลล์ใหญ่กว่า 20 ไมโครเมตร และขนาดเซลล์เล็กกว่า 20 ไมโครเมตร มีปริมาณกรดโดโมอิก 0.80 ± 0.09 และ 0.86 ± 0.03 นาโนกรัม/ลิตร ตามลำดับ ในสถานี 2 ที่ระดับ 0.5 เมตร จากผิวน้ำทะเล แพลงก์ตอนพืชขนาดเซลล์ใหญ่กว่า 20 ไมโครเมตร และขนาดเซลล์เล็กกว่า 20 ไมโครเมตร มีปริมาณกรดโดโมอิก 0.96 ± 0.01 และ 1.20 ± 0.08 นาโนกรัม/ลิตร ตามลำดับ และที่ระดับ 0.5 เมตร จากพื้นทะเล แพลงก์ตอนพืชขนาดเซลล์ใหญ่กว่า 20 ไมโครเมตร และขนาดเซลล์เล็กกว่า 20 ไมโครเมตร มีปริมาณกรดโดโมอิก 0.98 ± 0.03 และ 0.93 ± 0.03 นาโนกรัม/ลิตร ตามลำดับ สำหรับผลการ ตรวจหากรดโดโมอิกด้วย HPLC พบว่าไม่สามารถตรวจพบกรดโดโมอิก ผลการศึกษาด้วยวิธี ELISA แสดงให้เห็นว่าแพลงก์ตอนพืชทั้งสองขนาดสามารถสร้างกรดโดโมอิก และเป็นไปได้ที่กรดโดโมอิกจากแพลงก์ตอนพืชจะเป็นแหล่งของพิษที่สะสมในหอย เนื่องจากปริมาณกรดโดโมอิกในแพลงก์ตอนพืชและในหอยมีค่าสูงในเดือนพฤษภาคมสอดคล้องกัน ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงการบริโภคหอยนางรมหนามในเดือนพฤษภาคม อย่างไรก็ตาม ปริมาณกรดโดโมอิกที่พบมีค่าตํ่ากว่าระดับที่เป็นอันตรายคือ 20 ไมโครกรัม/กรัม Domoic acid is the causative agent of amnesic shellfish poisoning (ASP). Some diatoms such as Pseudo-nitzschia spp. and Nitzschia spp. are known as the toxin producers. Domoic acid will be accumulated in bivalves that feed on those toxic species and able to be transferred through the food chain which may intoxicate to animals in higher trophic level such as human. In this study, changes of domoic acid accumulated in Spondylus cf. versicolor and in phytoplankton collected during southwest monsoon season and northeast monsoon season at Kham Yai Island, Chonburi Province were examined by the Enzyme Linked Immunosorbent Assay (ELISA) method. The highest domoic acids content in S. cf. versicolor was found in May with highest domoic acids accumulated in digestive gland. The highest domoic acids content in phytoplankton was also found in May. At below 0.5 m. sea surface station 1, the domoic acids content in phytoplankton was 1.01 ± 0.03 and 0.54 ± 0.02 ng/L for phytoplankton of which size was larger than 20 μm and less than 20 μm, respectively. At 0.5 m. over sea bottom station 1, the domoic acids content in phytoplankton was 0.80 ± 0.09 and 0.86 ± 0.03 ng/L for phytoplankton of which size was larger than 20 μm and less than 20 μm, respectively. At below 0.5 m. sea surface station 2, the domoic acids content in phytoplankton was 0.96 ± 0.01 and 1.20 ± 0.08 ng/L for phytoplankton of which size was larger than 20 μm and less than 20 μm, respectively. At 0.5 m. over sea bottom station 2, the domoic acids content in phytoplankton was 0.98 ± 0.03 and 0.93 ± 0.03 ng/L for phytoplankton of which size was larger than 20 μm and less than 20 μm, respectively. The results for HPLC analysis of domoic acid not were detected. The results suggested that two size of phytoplankton could produce domoic acids, therefore phytoplankton might be a source of toxin that be able to accumulate in the S. cf. versicolor because of high domoic acids content in phytoplankton is consistent with S. cf. versicolor in May. Thus consumption should avoid eating Spiny Oyster in May. However, domoic acid was found lower than regulation level of 20 μg/g. 2011-10-05T11:46:49Z 2011-10-05T11:46:49Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16087 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2176851 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |