ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย
หนองหารเป็นทะเลสาบน้ำจืดตามธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน หนองหารตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสกลนคร มีขนาดพื้นที่ผิวน้ำเฉลี่ย 120 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 1.3 เมตร ความจุเฉลี่ย 200 ล้านลูกบาศก์เมตร หนองหารเป็นแหล่งน้ำดิบสำคัญสำหรับการทำประปาของเทศบาลเมืองสกลนคร สุขาภิบาลท่าแร่ รวมทั้...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Technical Report |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1626 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.1626 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.16262008-03-22T04:04:54Z ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย การใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย ธีรพล คังคะเกตุ ลือชัย ครุธน้อย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม คุณภาพน้ำ--ไทย--สกลนคร การใช้ทีดิน--ไทย--สกลนคร หนองหาร (สกลนคร) หนองหารเป็นทะเลสาบน้ำจืดตามธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน หนองหารตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสกลนคร มีขนาดพื้นที่ผิวน้ำเฉลี่ย 120 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 1.3 เมตร ความจุเฉลี่ย 200 ล้านลูกบาศก์เมตร หนองหารเป็นแหล่งน้ำดิบสำคัญสำหรับการทำประปาของเทศบาลเมืองสกลนคร สุขาภิบาลท่าแร่ รวมทั้งเป็นแหล่งน้ำชลประทานให้กับหมู่บ้านที่อยู่โดยรอบ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนองหาร คือ การแพร่กระจายของพืชน้ำและการตืนเขินขึ้นของหนองหาร ซึ่งเป็นผลมาจากการระบายสารอาหาร และดินตเอกนลงสูหนองหารในอัตราเร่งอันเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์บนพื้นที่ลุ่มน้ำหนองหาร แหล่งกำเนิดมลภาวะบนพื้นที่ลุ่มน้ำหนองหารมีอยู่ 2 แหล่ง จำแนกเป็นแหล่งกำเนิดแบบถาวร และแหล่งกำเนิดแบบกระจายโดยธรรมชาติหนองหารมีลักษณะเป็นแหล่งน้ำที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อการกลายสภาพเป็นหนองน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำและเป็นแผ่นดินในที่สุด เนื้องจากเป็นทะเลสาบที่ตื้น (ความลึกน้อยกว่า 10 เมตร) และมีอ้ตราส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำอย่างเหมาะสมและถูกต้อง ก็อาจส่งผลให้เกิดอัตราเร่งต่อกระบวนการแปรสภาพตามธรรมชาติ และอาจทำให้ต้องสูญเสียหนองหารในฐานะแหล่งน้ำดิบสำคัญไปได้ในที่สุด Nong Han is the largest natural lake located in th eNortheastern of Thailand, within the Sakon-Nakon municipality area. Nong Hansurface area is approximately 120 km[square], depth is around 1.3 m. and, its capacity is about 200x10[superscript 6] m[superscript 3]. Nong Han served as major water resource for domestic uses, agricultural uses andn also acts as receiving water body (receives wastes mainly in the from of wastewater and run-off fore the watershed). The source of pollution could be classified as point source (domestic wastewater from municipality) and diffuse source (CSO, urban run-off, agricultural run-off etc.) There are many types of pollutants found in wastewater and run-off such as organic matter (biodegradable), nuttients, solids and pathogens, etc. Amomg these pollutants, only nutrients and sediments are two major pollutants responsibel for the spread of aquatic weeds over Nong Han and the increase in shallowness (decrease in water depth) which will lead to the acceleration of the aging process, the physical change of lake to become swamp, wetland and, finally land. Nong Han is a shallow lake and has relatively high watershed area-to-surface area ratio (14"1 to 14:1), conditions that is favorable to aging process. Therefore, the sources of pollution in the watershed should be manipulated or managed cleverly and properly so as to reduce the input of nutrients and sediments into Nong Han. It should be established that the primary aim in managing Nong Han, and also the water shed, is to keep Nong Han as a major water resource, especially for domestic uses, as long as possible. ทุนอุดหนุนงบประมาณแผ่นดิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006-08-09T14:47:28Z 2006-08-09T14:47:28Z 2541 Technical Report http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1626 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13947093 bytes application/pdf application/pdf ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สกลนคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
คุณภาพน้ำ--ไทย--สกลนคร การใช้ทีดิน--ไทย--สกลนคร หนองหาร (สกลนคร) |
spellingShingle |
คุณภาพน้ำ--ไทย--สกลนคร การใช้ทีดิน--ไทย--สกลนคร หนองหาร (สกลนคร) ธีรพล คังคะเกตุ ลือชัย ครุธน้อย ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
description |
หนองหารเป็นทะเลสาบน้ำจืดตามธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน หนองหารตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสกลนคร มีขนาดพื้นที่ผิวน้ำเฉลี่ย 120 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 1.3 เมตร ความจุเฉลี่ย 200 ล้านลูกบาศก์เมตร หนองหารเป็นแหล่งน้ำดิบสำคัญสำหรับการทำประปาของเทศบาลเมืองสกลนคร สุขาภิบาลท่าแร่ รวมทั้งเป็นแหล่งน้ำชลประทานให้กับหมู่บ้านที่อยู่โดยรอบ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของหนองหาร คือ การแพร่กระจายของพืชน้ำและการตืนเขินขึ้นของหนองหาร ซึ่งเป็นผลมาจากการระบายสารอาหาร และดินตเอกนลงสูหนองหารในอัตราเร่งอันเป็นผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์บนพื้นที่ลุ่มน้ำหนองหาร แหล่งกำเนิดมลภาวะบนพื้นที่ลุ่มน้ำหนองหารมีอยู่ 2 แหล่ง จำแนกเป็นแหล่งกำเนิดแบบถาวร และแหล่งกำเนิดแบบกระจายโดยธรรมชาติหนองหารมีลักษณะเป็นแหล่งน้ำที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อการกลายสภาพเป็นหนองน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำและเป็นแผ่นดินในที่สุด เนื้องจากเป็นทะเลสาบที่ตื้น (ความลึกน้อยกว่า 10 เมตร) และมีอ้ตราส่วนของพื้นที่ลุ่มน้ำอย่างเหมาะสมและถูกต้อง ก็อาจส่งผลให้เกิดอัตราเร่งต่อกระบวนการแปรสภาพตามธรรมชาติ และอาจทำให้ต้องสูญเสียหนองหารในฐานะแหล่งน้ำดิบสำคัญไปได้ในที่สุด |
author2 |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม |
author_facet |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ธีรพล คังคะเกตุ ลือชัย ครุธน้อย |
format |
Technical Report |
author |
ธีรพล คังคะเกตุ ลือชัย ครุธน้อย |
author_sort |
ธีรพล คังคะเกตุ |
title |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
title_short |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
title_full |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
title_fullStr |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
title_full_unstemmed |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
title_sort |
ผลการจัดการการใช้ที่ดินที่มีต่อคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ : กรณีศึกษาหนองหาร จังหวัดสกลนคร : รายงานผลการวิจัย |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1626 |
_version_ |
1681410088866152448 |