การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: มารยาท แซ่อึ้ง
Other Authors: เอกชัย กี่สุขพันธ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2011
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16411
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.16410
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ประกันคุณภาพการศึกษา
วัฒนธรรมองค์การ
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ
spellingShingle ประกันคุณภาพการศึกษา
วัฒนธรรมองค์การ
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ
มารยาท แซ่อึ้ง
การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 เอกชัย กี่สุขพันธ์
author_facet เอกชัย กี่สุขพันธ์
มารยาท แซ่อึ้ง
format Theses and Dissertations
author มารยาท แซ่อึ้ง
author_sort มารยาท แซ่อึ้ง
title การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
title_short การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
title_full การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
title_fullStr การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
title_full_unstemmed การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
title_sort การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2011
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16411
_version_ 1681412694230433792
spelling th-cuir.164102012-01-10T00:55:39Z การศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล A study of quality culture management of secondary schools under the Office of the Basic Education Commission in Bangkok and the vicinity มารยาท แซ่อึ้ง เอกชัย กี่สุขพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ ประกันคุณภาพการศึกษา วัฒนธรรมองค์การ โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2549-2553 ในระดับคุณภาพดีมากและดีทุกมาตรฐาน ขนาดใหญ่พิเศษ และอยู่ในเมือง จำนวน 44 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้บริหาร 440 คน ครู-อาจารย์ 316 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพ โดยใช้กรอบแนวคิดของ Batten (1992:6) มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ภาวะผู้นำด้านคุณภาพ การทำงานเป็นทีม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การมอบอำนาจ การยกย่องและการให้รางวัล และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานวัฒนธรรมคุณภาพ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้ง 6 ด้าน ด้านภาวะผู้นำ ด้านคุณภาพ พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารมีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย แผนและเป้าหมายด้านคุณภาพ รวมทั้งแนวทางการบริหารและการปฏิบัติงานของครู-อาจารย์อย่างชัดเจน มีความมุ่งมั่นในการบริหารปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิผลและมีคุณภาพ มีกำลังใจเข้มแข็ง มีความเด็ดขาดในการตัดสินใจงานด้านคุณภาพ และครู-อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในการทำงานด้านคุณภาพ ด้านการทำงานเป็นทีม พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหาร มีการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ การมอบอำนาจของทีมงานคุณภาพอย่างชัดเจน ครู-อาจารย์มีความสำนึกและตระหนักในคุณค่าความสำคัญของการทำงานเป็นทีมคุณภาพ ตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบของตนเองที่จะทำงานให้มีคุณภาพ ทำงานและแก้ปัญหาโดยมุ่งที่ความสำเร็จของทีม คำนึงถึงผลประโยชน์ของโรงเรียน คุณภาพของงานและความพอใจของทุกฝ่ายเป็นสำคัญ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารมีการจัดประชุมคณะผู้ดำเนินการฝึกอบรม เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดการดำเนินงาน ความรับผิดชอบและการประสานงานของแต่ละบุคคล มีการจัดสถานที่ฝึกอบรมด้านคุณภาพ สร้างบรรยากาศให้ครู-อาจารย์ที่เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความสนใจและเกิดการเรียนรู้ได้มากขึ้น และให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของงานคุณภาพ ด้านการมอบอำนาจ พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและมาตรฐานงานด้านคุณภาพของครู-อาจารย์ในการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน และครู-อาจารย์มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านการยกย่องและการให้รางวัล พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารกำหนดนโยบายในการยกย่องครู-อาจารย์ที่มีประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายคุณภาพ ครู-อาจารย์ที่ได้รับการยกย่องมีความภูมิใจในการสร้างงานคุณภาพให้แก่โรงเรียน และผู้บริหารให้เกียรติยกย่องชมเชยด้วยความจริงใจ และมีการให้รางวัลในโอกาสอันควร ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง พบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ผู้บริหารริเริ่มการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารระบบคุณภาพของโรงเรียน และดำเนินการจัดทำระบบโครงสร้างพื้นฐานสำหรับโรงเรียนที่จำเป็นให้การสนับสนุนทรัพยากร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การปรับปรุงคุณภาพ และผลักดันให้ครู-อาจารย์มีส่วนร่วมในการปรับปรุงภายในกลุ่มสาระและระหว่างกลุ่มสาระต่างๆ To study of quality culture management of 44 secondary schools under the office of the basic education commission in Bangkok and the vicinity. The sample used in this research were 440 administrators and 316 teachers. Systematic random sampling was used to select the participants. The instrument used in this research was a quality culture management questionnaire. The framework used in this research was adapted from Batten’s framework on quality culture. The 6 factors used in the frameworks include leadership, teamwork, human resource development, empowerment, recognition and rewards and continuous quality improvement. Finding mean scores and standard deviation was used to analyze the data. Results of this research found that the 6 factors of quality management were being implemented at a high level in the high schools. The 3 factors of leadership that received the highest mean were administrators clearly state the vision, the mission, the policies, the plan, the goals of quality which includes the planning and implementation done by the teachers. The 3 factors of teamwork that received the highest mean were the administrators clearly states the goals, the roles, duties, responsibilities, empowerment of the quality control team and to instill the thought of importance of teamwork and importance of focusing on quality, and to resolve problems for the overall success of the team. The teachers need to think about the benefits of the work towards the school and the quality of their work and the satisfaction of all sides. The 3 factors of human resource development that received the highest mean were that administrators set up workshops and seminars for teachers, to clearly define the duties of each individual, and stating the importance of teamwork of each individual. Administrators have to set up seminars to improve quality, ensure an environment that improves teachers’ interest and improve their ability to learn. Administrators need to give importance to improving human resource as a part of the job. The 3 factors of empowerment that received the highest mean were administrators have to clearly state duties, responsibilities and clearly set standard of teachers while working with quality. Teachers have the responsibility to execute the duties that they received. The 3 factors of recognition and reward that received the highest mean were administrators give praise and state the rewards for teachers who achieve the goals set by the administrators. Teachers who receive recognition are proud of creating quality work for the school. The 3 factors of continuous quality improvement that received the highest mean were that administrators need to set up a quality system committee and set up a quality system within schools. Administrators provide resources to achieve the goal to improve quality. Administrators encourage teachers to participate in the improvement of each class. 2011-12-22T10:12:29Z 2011-12-22T10:12:29Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16411 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1574396 bytes application/pdf application/pdf ไทย กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย