แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง

วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เดวิตร์ สุขเสน
Other Authors: นิลุบล คล่องเวสสะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16658
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.16658
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic นิเวศวิทยาเมือง -- ไทย -- หนองจอก (กรุงเทพฯ)
การพัฒนาชุมชนเมือง -- แง่สิ่งแวดล้อม
เส้นทางเดิน
ทางเท้า
ทางจักรยาน
ชุมชนคอยรุตตั๊กวา (กรุงเทพฯ)
spellingShingle นิเวศวิทยาเมือง -- ไทย -- หนองจอก (กรุงเทพฯ)
การพัฒนาชุมชนเมือง -- แง่สิ่งแวดล้อม
เส้นทางเดิน
ทางเท้า
ทางจักรยาน
ชุมชนคอยรุตตั๊กวา (กรุงเทพฯ)
เดวิตร์ สุขเสน
แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
description วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 นิลุบล คล่องเวสสะ
author_facet นิลุบล คล่องเวสสะ
เดวิตร์ สุขเสน
format Theses and Dissertations
author เดวิตร์ สุขเสน
author_sort เดวิตร์ สุขเสน
title แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
title_short แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
title_full แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
title_fullStr แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
title_full_unstemmed แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
title_sort แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16658
_version_ 1681412919180394496
spelling th-cuir.166582012-02-04T05:11:45Z แนวทางการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางสีเขียวในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวาและพื้นที่ต่อเนื่อง Guidelines for development of greenway network in Nong Chok district, Bangkok : a case study of Koiruttakwa commuity เดวิตร์ สุขเสน นิลุบล คล่องเวสสะ ดนัย ทายตะคุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ นิเวศวิทยาเมือง -- ไทย -- หนองจอก (กรุงเทพฯ) การพัฒนาชุมชนเมือง -- แง่สิ่งแวดล้อม เส้นทางเดิน ทางเท้า ทางจักรยาน ชุมชนคอยรุตตั๊กวา (กรุงเทพฯ) วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาพื้นที่ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวา ซึ่งเป็นชุมชนที่อยู่ในกรอบการพัฒนาเมืองสีเขียว (Green city) ตามแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุทยานนครชานเมืองตะวันออกของกรุงเทพมหานคร เป็นการศึกษาภายใต้แนวคิดการพัฒนาเส้นทางสีเขียว (Greenway) ในพื้นที่ชุมชนและพื้นที่ต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการเดินทางให้เกิดเป็นโครงข่ายเชื่อมโยงกิจกรรมการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้งการเดินเท้าและการใช้จักรยาน โดยศึกษาโครงข่ายการเดินทางของคนในชุมชนจากพื้นที่ต้นทาง (Origin) ไปยังพื้นที่ปลายทาง (Destination) เชื่อมโยงระหว่างบ้านพักอาศัย สถานที่ทำงาน สถานศึกษา พื้นที่นันทนาการ และพื้นที่บริการต่างๆ เป็นการศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมการเดินทางของคนในชุมชน ซึ่งได้จากการเก็บแบบสอบถาม นำข้อมูลที่ได้มาประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลลงในแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เพื่อให้เข้าใจรูปแบบจุดหมายปลายทางและเส้นทางการเดินทางในวันธรรมดาและวันหยุด รวมถึงพฤติกรรมการใช้ยานพาหนะและทัศนคติต่อการพัฒนาการเดินทางเพื่อสิ่งแวดล้อม ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการเดินทางของคนในชุมชนสามารถเดินเท้าในระยะทาง 2 กิโลเมตร และใช้จักรยานระยะทาง 5 กิโลเมตร โดยคนในชุมชนส่วนใหญ่มีทัศนคติต่อการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมในเชิงบวก พร้อมให้ความร่วมมือและสนับสนุนการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องมีการพัฒนาเส้นทางที่เหมาะกับระยะการเดินเท้าและใช้จักรยานไปยังพื้นที่ปลายทางสำคัญ พร้อมกับการเสนอเส้นทางใหม่ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการเดินทางของคนในชุมชน เพื่อสร้างทางเลือกการเดินทางไปยังพื้นที่ปลายทางให้มีระยะทางที่สั้น สะดวก ปลอดภัย และต่อเนื่อง เป็นเส้นทางผ่านพื้นที่ศักยภาพในการพัฒนาเส้นทางสีเขียวในบริบทของพื้นที่เขตหนองจอก ได้แก่ พื้นที่คลอง และพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อการเดินทางและการพักผ่อนหย่อนใจตลอดแนวเส้นทางสีเขียว เชื่อมโยงเป็นโครงข่ายเส้นทางสีเขียวอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการเดินเท้าและการใช้จักรยานที่เหมาะสมกับพฤติกรรมการเดินทางของคนในชุมชนได้อย่างยั่งยืน To study Koiruttakwa community, which is under policy of green city development according to the suburban master plan of Bangkok. In order to study the possibility of greenway development for the community as an environmental friendly network, the questionnaires were used in studying individual attitude, as well as their behavior, in commuting from the origins to the destinations. The routes were linked to residential, workplaces, schools, recreation, and other public service areas. The results were analyzed by using Geographic Information System (GIS) in order to illustrate the commutation in each route in weekdays and holidays, this includes their behavior in using various mode of travel and attitudes in using green transportations. According to the result, it was found that people walk for a short distance, 2 kilometers, and ride bicycles for a longer distance, 5 kilometers. They have positive attitude in green development for transportation. However, it should provide a choice of traveling proper to people’s behavior for creating alternative of short, convenient and safety route, coupling with continuity which promote using walking and bicycling as commuting from the origins to the destinations. Due to being a unique community, which composed of many agricultural areas and canals. It was clearly suggested that the community have a capacity to develop as a greenway network. By the way, the mode of transportations should not provide only convenience and safety for the residents, but also provide recreation activities, in order to enhance the environmentally friendly and sustainable traveling which are proper to their attitude and behaviors. 2012-02-04T05:11:44Z 2012-02-04T05:11:44Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16658 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11321601 bytes application/pdf application/pdf ไทย หนองจอก (กรุงเทพฯ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย