การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16679 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.16679 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
จริยธรรม การพัฒนาจริยธรรม คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) |
spellingShingle |
จริยธรรม การพัฒนาจริยธรรม คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) ชลดา ทองเชียง การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา |
author_facet |
สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา ชลดา ทองเชียง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ชลดา ทองเชียง |
author_sort |
ชลดา ทองเชียง |
title |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
title_short |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
title_full |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
title_fullStr |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
title_full_unstemmed |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
title_sort |
การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16679 |
_version_ |
1681413492781875200 |
spelling |
th-cuir.166792012-02-04T13:36:33Z การเสริมสร้างคุณธรรมผ่านบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4 : การวิจัยเชิงทดลองแบบอนุกรมเวลา Ethics enhancment through mathematics lessons for fourth grade students : a time series experimental research ชลดา ทองเชียง สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ จริยธรรม การพัฒนาจริยธรรม คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์แบบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) สร้างบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรม 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างกลุ่มที่ใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรม และกลุ่มที่ใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบปกติ 4) เปรียบเทียบพฤติกรรมด้านคุณธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างกลุ่มที่ใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรม และกลุ่มที่ใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบปกติ ระเบียบวิธีวิจัย แบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 54 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 27 คน กลุ่มควบคุม 27 คน สถิติที่ใช้คือ สถิติบรรยาย และ t-test independent ผลการวิจัยพบว่า 1. โจทย์ปัญหาที่พบในแบบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1.1) ใช้ภาษาที่ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย และใช้สถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับชีวิตประจำวัน 1.2) สอดแทรกคุณธรรมลงในโจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยคุณธรรมที่มีการสอดแทรกมากที่สุดคือ ด้านความขยัน ประมาณ 7% ของโจทย์ปัญหา รองลงมาคือ ด้านความประหยัด ประมาณ 2% ของโจทย์ปัญหา คุณธรรมด้านอื่นๆ นอกเหนือจากคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการที่พบคือ ความกตัญญู ความรับผิดชอบ 2. บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นนั้น ได้สอดแทรกคุณธรรมด้านความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สะอาด สามัคคี และมีน้ำใจ โดยคิดเป็นร้อยละของโจทย์ปัญหา ทั้งหมดประมาณ 17, 31, 10, 4, 7, 7 และ 24 ตามลำดับ 3. ค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน กลุ่มที่เรียนโดยใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมทั้งสามครั้ง สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมด้านคุณธรรมของนักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้บทเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 To (1) analyse the mathematics textbook of prathom suksa four, (2) develop the mathematics lesson added morals matter, (3) compare the mathematics learning achievement of the students between the group learned by using the mathematics lesson added morals matter with the group learned by using the textbook issued by the Ministry of Education, and (4) compare the students’ behavior on morals between the group learned by using the mathematics lesson added morals matter with the group learned by using the textbook issued by the Ministry of Education. The method applied in this research was quasi-experiment. The samples were two groups, 54 fourth grade students, whice divined equally into experimental and control groups. Statistical analyses included descriptive statistics and the t-test. The results were as follows: 1. Prathom 4 mathematics problems had following characteristics 1.1) Easy language and routine life activities which were able to help learners’ understanding. 1.2) Integrating ethics in the problems about diligence 7%, money saving 2% and other 8 fundamental ethics like gratefulness and responsibility, respectively. 2. The mathematics lesson with morals were added the 7 fundamental ethics: diligence, discipline, honesty, money and energy saving, cleanness, unity, and hospitality by percentage of 17, 31, 10, 4, 7, 7 and 24, orderly. 3. The mathematics learning achievement of the experimental group learned by using the mathematics lesson with morals matter higher than that of the control group at .05 level of statistical significance. 4. The students’ moral behavior of the experimental group learned by using the mathematics lesson with morals matter higher than that of the control group at .05 level of statistical significance. 2012-02-04T13:36:32Z 2012-02-04T13:36:32Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16679 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1643297 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |