แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่

วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศุภัชญา ปรัชญคุปต์
Other Authors: นวณัฐ โอศิริ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16729
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.16729
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การคุ้มครองภูมิทัศน์ -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
โบราณคดี -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) -- โบราณสถาน
spellingShingle การคุ้มครองภูมิทัศน์ -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
โบราณคดี -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่)
เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) -- โบราณสถาน
ศุภัชญา ปรัชญคุปต์
แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
description วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 นวณัฐ โอศิริ
author_facet นวณัฐ โอศิริ
ศุภัชญา ปรัชญคุปต์
format Theses and Dissertations
author ศุภัชญา ปรัชญคุปต์
author_sort ศุภัชญา ปรัชญคุปต์
title แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
title_short แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
title_full แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
title_fullStr แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
title_full_unstemmed แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
title_sort แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16729
_version_ 1681409512106360832
spelling th-cuir.167292012-02-05T12:08:41Z แนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์และการท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่ Landscape development guidelines for conservation and tourism in Wiang Jad Lin, Chiang Mai province ศุภัชญา ปรัชญคุปต์ นวณัฐ โอศิริ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การคุ้มครองภูมิทัศน์ -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) โบราณคดี -- ไทย -- เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) เวียงเจ็ดลิน (เชียงใหม่) -- โบราณสถาน วิทยานิพนธ์ (ภ.สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 เวียงเจ็ดลิน เป็นชุมชนโบราณที่สำคัญแห่งหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ราบเชิงดอยสุเทพ แต่เดิมพื้นที่เวียงเจ็ดลินเคยเป็นที่อยู่ของชุมชนพื้นเมืองที่เรียกว่า “ละว้า” หรือ “ลัวะ” มาก่อน ในช่วงที่เข้ามาในพื้นที่ ลัวะ ทำการขุดคูน้ำและคันดินสร้างที่อยู่อาศัยและเพื่อป้องกันข้าศึกโจมตี ในพุทธศตวรรษที่ 13 เวียงเจ็ดลินได้รับอิทธิพลทางพุทธศาสนา โดยปรากฏหลักฐานการสร้างวัดกู่ดินขาวไว้นอกกำแพงเวียงทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และพบหลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ เช่น พระพิมพ์ดินเผาแบบหริภุญไชย กระทั่งในปี พ.ศ. 1954 สมัยพญาสามฝั่งแกนแห่งราชวงศ์มังราย ได้บูรณะเวียงเจ็ดลินขึ้นใหม่เพื่อใช้เป็นสถานที่พักผ่อนในฤดูร้อน เนื่องจากสภาพธรรมชาติของดอยสุเทพที่มีความร่มรื่น และแหล่งน้ำของเวียงเจ็ดลินที่มีความใสสะอาดใช้ในการอุปโภคและบริโภค ต่อมาเวียงเจ็ดลินถูกลดความสำคัญลงเรื่อยมา จนกระทั่งปี พ.ศ. 2510 ความเจริญของเมืองเชียงใหม่ได้ขยายตัวเข้ามาในพื้นที่เพื่อใช้เป็นที่ตั้งของสถาบันราชการ สถาบันการศึกษาและชุมชนมาจนถึงปัจจุบัน จากการศึกษาและสำรวจพบว่า เวียงเจ็ดลินในปัจจุบันประสบปัญหาจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมของสถาบันราชการ สถาบันการศึกษาเพื่อสร้างอาคารขนาดสูงและมีสิ่งก่อสร้างอาคารประชิดกับแหล่งโบราณคดี มีการรุกล้ำ คูน้ำ-คันดินของชุมชนเพื่อสร้างที่อยู่อาศัย ส่งผลกระทบทำให้คูน้ำ-คันดิน และแหล่งขุดค้นทางโบราณคดี เสื่อมสภาพและถูกลดคุณค่าลง หากปล่อยให้มีการรุกล้ำไว้เช่นนี้ ในที่สุดจะไม่มีหลักฐานการเป็นชุมชนโบราณให้เห็นอีกต่อไป วิทยานิพนธ์นี้จึงเสนอแนวทางการพัฒนาภูมิทัศน์เวียงเจ็ดลิน เพื่อการอนุรักษ์เวียงเจ็ดลินให้คงหลักฐาน คูน้ำ-คันดิน โบราณสถาน และแหล่งแหล่งโบราณคดีและเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเพื่อการเรียนรู้ และมีการฟื้นฟูป่าไม้ในเวียงเจ็ดลินให้เป็นพื้นที่สีเขียว และเป็นสถานที่พักผ่อนที่สำคัญอีกแห่งของเมืองเชียงใหม่ Wiang Jad Lin is one of the ancient communities in Chiang Mai. It is situated on the plain at the bottom of Doi Suthep. It was once settled by an indigenous community called “Lawa” or “Lua”. In the period when they came to settle the area, the Lua dug a moat and built a dike to make the area more habitable and protect against enemy attacks. In the 7th Century, Wiang Jad Lin came under the influence of Buddhism as evidenced by the building of the Wat Koo Din Khao outside the town wall to the southwest, and from archaeological evidence such as ceramic Buddhist amulets dating back to the Haripunjaya Period. In 1411 AD, King Samfangan of the Mengrai Dynasty initiated restoration of Wiang Jad Lin to be used as a summer residence because of Doi Suthep’s shady and cool environment as well as Wiang Jad Lin’s clear and clean drinking water from its fountain springs. Over time, Wiang Jad Lin gradually decreased in importance. From the year 1967 up until the present, the growth of Chiang Mai city has expanded into the area with the establishment of official institutions, educational institutes, and residential communities. The findings of the study conducted in the Wiang Jad Lin area show that there are many problems relating to : the condition of the moat and the dike, the encroachment of residential development, the buildings of official and educational institutes adjacent to the archaeological sites resulting the increased deterioration and degradation of the moat and the dike and the archaeological sites. If such encroachment is allowed to continue, the moat and the dike and the archaeological sites will no longer be able to be seen by future generations. This thesis presents guidelines for developing and improving the landscapes of Wiang Jad Lin, focusing on the conservation of the archaeological sites, promoting local historical tourism and to creating a new public garden and green area for the city of Chiang Mai. 2012-02-05T12:08:41Z 2012-02-05T12:08:41Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16729 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 15308949 bytes application/pdf application/pdf ไทย เชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย