การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16733 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.16733 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.167332012-02-05T12:25:29Z การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต Turbid removal from surface water by aluminum chlorohydrate สาวิตรี ตาสุติน อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย น้ำประปา น้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การรวมตะกอน อะลูมินัมคลอโรไฮเดรต วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดความขุ่นจากน้ำสังเคราะห์และน้ำดิบจากคลองประปา โดยใช้สารอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต (Aluminum chlorohydrate; ACH) เป็นสารตกตะกอนในการผลิตน้ำประปาด้วยวิธีจาร์เทสต์ โดยทดลองหาค่าเกรเดียนท์ความเร็วของการกวนที่เหมาะสม ปรับเปลี่ยนพีเอชเริ่มต้น ปริมาณอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต รวมทั้งชนิดและปริมาณของสารช่วยตกตะกอน จากการศึกษาพบว่า ค่าเกรเดียนท์ความเร็วของการกวนที่เหมาะสมคือ ค่าเกรเดียนท์ความเร็วของการกวนเร็วที่ 469 วินาที [superscript -1] เป็นเวลา 1 นาที ค่าเกรเดียนท์ของกวนช้าที่ 112 วินาที[superscript -1] เป็นเวลา 15 นาที และทิ้งให้ตกตะกอนเป็นเวลา 30 นาที การใช้อะลูมินัมคลอโรไฮเดรตเป็นสารตกตะกอนเพียงอย่างเดียว ก็สามารถกำจัดความขุ่นจากน้ำจากคลองประปาที่ความขุ่นเริ่มต้น 26.6 และ 86.65 เอ็นทียู ให้ได้ตามมาตรฐานน้ำประปา (ต่ำกว่า 5 เอ็นทียู) ที่ความเข้มข้นเพียง 2 และ 4 มก./ล. ให้ประสิทธิภาพการกำจัดความขุ่น 85.51%-94.73% ตามลำดับ โดยไม่ต้องปรับพีเอชของน้ำและไม่ต้องใช้โพลิเมอร์ร่วมด้วย และตะกอนหนักที่เกิดขึ้นมีปริมาณต่ำมากเพียง 0.1 และ 3.5 มล./ล. เมื่อนำน้ำใสส่วนบนไปวิเคราะห์หาอะลูมิเนียมในน้ำพบว่า มีค่าต่ำกว่ามาตรฐานน้ำดื่มเท่ากับ 10 และ 20 ไมโครกรัม/ล. และมีค่าใช้จ่ายด้านสารเคมี 0.06 และ 0.12 บาทต่อน้ำดิบ 1 ลบ.ม. ผลการทดลองเปรียบเทียบสารตกตะกอนชนิดต่างๆ ได้แก่ สารส้ม อะลูมินัมคลอโรไฮเดรต และโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์แบบปรับแต่ง (modified PACl) เป็นสารตกตะกอนที่ความขุ่นน้ำดิบจากคลองประปา 65.5-86.8 เอ็นทียู พบว่าสารตกตะกอนทั้ง 3 ชนิด สามารถกำจัดความขุ่นได้ตามมาตรฐานน้ำประปา ซึ่งปริมาณการใช้สารส้มมากที่สุด รองลงมาคือ อะลูมินัมคลอโรไฮเดรต และโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์แบบปรับแต่ง ที่ 35, 4 และ 1.4 มก./ล. ให้ประสิทธิภาพการกำจัดขุ่น 94.05%, 94.73% และ 93.66% ตามลำดับ ข้อดีของการใช้อะลูมินัมคลอโรไฮเดรตและโพลีอะลูมิเนียมคลอไรด์แบบปรับแต่งคือ น้ำหลังตกตะกอนมีโลหะอะลูมิเนียมเหลือต่ำมากเท่ากับ 0.02 และ 0.055 มก./ล. ตามลำดับ ส่วนสารส้มพบว่ามีอะลูมิเนียมในน้ำสูงถึง 0.115 มก./ล. This study was investigated for factors that affect on turbidity removal efficiency from surface water using Aluminum chlorohydrate (ACH) as coagulant. The jar test methods were performed by varying velocity gradient, initial pH, ACH dosage and type of polyelectrolyte. The results showed that optimum velocity gradient was 469 s[superscript -1] for 1 minute of rapid - mixing and 112 s [superscript -1] for 15 minute of slow - mixing and then settle for 30 minute. For raw canal water at turbidity of 26.6 and 86.65 NTU, The optimal dosage of ACH for turbidity removal were 2 and 4 mg/L, respectively. The turbidity of produced water met drinking water quality standard at below 5 NTU and achieved high turbidity removal efficiency at 85.51% and 94.73%, respectively. Sludge volume was 0.1 and 3.5 mg/L while residual aluminium concentration in treated water was low as 10 and 20 microgram/L, respectively. The chemical cost was low as 0.06 and 0.12 baht per 1 cu.m. For turbidity removal experiment comparison among three difference type of coagulants namely: alum, ACH and modified polyaluminium chloride (modified PACl). The result showed that all coagulant could remove turbidity for raw canal water at turbidity of 65.5-86.65 NTU to meet drinking water quality standard at dosage of 35, 4 and 1.4 mg/L, respectively. The removal efficiency were 94.05, 94.73 and 93.66%, respectively. Moreover, it was found that the concentration of aluminium in treated water was 0.02 and 0.055 mg/L when using ACH and modified PACl. Aluminium in alum treated water was 0.115 mg/L. 2012-02-05T12:25:28Z 2012-02-05T12:25:28Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16733 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2190861 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
น้ำประปา น้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การรวมตะกอน อะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
spellingShingle |
น้ำประปา น้ำ -- การทำให้บริสุทธิ์ -- การรวมตะกอน อะลูมินัมคลอโรไฮเดรต สาวิตรี ตาสุติน การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ |
author_facet |
อรทัย ชวาลภาฤทธิ์ สาวิตรี ตาสุติน |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สาวิตรี ตาสุติน |
author_sort |
สาวิตรี ตาสุติน |
title |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
title_short |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
title_full |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
title_fullStr |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
title_full_unstemmed |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
title_sort |
การกำจัดความขุ่นจากน้ำผิวดินด้วยอะลูมินัมคลอโรไฮเดรต |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16733 |
_version_ |
1681409662479499264 |