การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นันท์นภัส หวังศรีโรจน์
Other Authors: สุกัญญา สุดบรรทัด
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16874
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.16874
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic แบบอักษร
วารสาร
การออกแบบนิตยสาร
spellingShingle แบบอักษร
วารสาร
การออกแบบนิตยสาร
นันท์นภัส หวังศรีโรจน์
การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 สุกัญญา สุดบรรทัด
author_facet สุกัญญา สุดบรรทัด
นันท์นภัส หวังศรีโรจน์
format Theses and Dissertations
author นันท์นภัส หวังศรีโรจน์
author_sort นันท์นภัส หวังศรีโรจน์
title การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
title_short การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
title_full การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
title_fullStr การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
title_full_unstemmed การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
title_sort การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16874
_version_ 1681411874688598016
spelling th-cuir.168742012-03-13T06:53:34Z การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร Typeface selection and identity creation in magazines นันท์นภัส หวังศรีโรจน์ สุกัญญา สุดบรรทัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ แบบอักษร วารสาร การออกแบบนิตยสาร วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาว่า การสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสารกับการเลือกใช้แบบอักษร แนวคิดในการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะในการสร้างเอกลักษณ์ของนิตยสาร และการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะของนิตยสารช่วยให้สามารถจดจำนิตยสารได้ดีขึ้น รวมทั้งทำให้ผู้อ่านมีความพึงพอใจมากขึ้นหรือไม่ อย่างไร การวิจัยนี้ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดในการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะของผู้ผลิตนิตยสาร และขั้นตอนที่ 2 การวิจัยเชิงทดลอง ผู้วิจัยได้ให้ผู้เข้าร่วมการทดลองอ่านนิตยสารที่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะและไม่มีลักษณะเฉพาะ มีผู้เข้าร่วมทดลอง 60 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆละ 30 คน โดยกำหนดให้กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง ซึ่งได้อ่านนิตยสารที่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม ซึ่งได้อ่านนิตยสารที่ไม่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ ให้ผู้เข้าร่วมการทดลองทำการทดสอบการระลึกถึงชื่อนิตยสาร และทำแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1. นิตยสารที่มีการจำหน่ายในประเทศไทย มีนิตยสารอยู่ 1 ฉบับ ที่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ ได้แก่ นิตยสาร WALLPAPER ฉบับภาษาไทย โดยมีเหตุผลในการเลือกใช้ แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะเนื่องจากต้องการคงเอกลักษณ์ของนิตยสารต้นฉบับภาษาอังกฤษ 2. การเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะและไม่มีลักษณะเฉพาะส่งผลต่อความจำของผู้อ่าน โดยแบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะมีผลให้ผู้เข้าร่วมการทดลองระลึกถึงชื่อนิตยสารได้มากกว่านิตยสารที่ไม่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะอย่างมีนัยสำคัญ 3. การเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะและไม่มีลักษณะเฉพาะส่งผลให้ผู้อ่านมีความพึงพอใจในการอ่านนิตยสารแตกต่างกัน ดังนี้ คือ ผู้อ่านนิตยสารพึงพอใจในเรื่องความยากง่ายในการอ่านจากนิตยสารที่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่ไม่มีลักษณะเฉพาะมากกว่านิตยสารที่มีการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ ส่วนแง่ความสนใจในการอ่าน ผู้อ่านนิตยสารพึงพอใจในการเลือกใช้แบบอักษรที่มีลักษณะเฉพาะมากกว่าแบบอักษรที่ไม่มีลักษณะเฉพาะ This research has a destination to study that the construction of identity creation in magazine with typeface selection. The idea of using typeface selection has unique characteristic to create of identity in magazine. And typeface selection has unique characteristic of magazine can help to recognize the magazine as well. Including to make the readers satisfied. This research includes two steps: step 1 is gathering information about the idea of using typeface selection that unique characteristic to producer magazine. And step 2, the experimental research, the researchers get the participant experiment reading magazine that use typeface selection that unique characteristic or general typeface selection. This experimental study involved with 60 participants and divided into 2 groups and 30 people per group. The order of one group is the experimental group which reading magazine of typeface selection that unique characteristic. The other group is a control group which reading magazine of general typeface selection. The participants do examination to be in the memory of magazine's name and do questionnaire to check satisfaction survey. The results showed that 1. The magazine that available in Thailand found that 1 magazine that typeface selection that unique characteristic is WALLPAPER Thai edition magazine. The reason to use is typeface selection has unique characteristic because of the identity creation of the English typeface in original magazine . 2. The typeface selection that unique characteristic and the general typeface selection affect to the reader's memory. The participants can recall a magazine's name significantly. 3. The typeface selection that unique characteristic and the general typeface selection send result to readers satisfied to reading different magazines. So the magazine readers satisfy in legibility of magazine in the general typeface selection more than the unique characteristic. A part of the point of view in reading, the magazine readers satisfy in typeface selection that unique characteristic more than the general typeface selection 2012-02-12T13:20:22Z 2012-02-12T13:20:22Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16874 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17653145 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย