ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16899 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.16899 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ความวิตกกังวล ความซึมเศร้า ปวดหลัง หลัง -- โรค -- ผู้ป่วย |
spellingShingle |
ความวิตกกังวล ความซึมเศร้า ปวดหลัง หลัง -- โรค -- ผู้ป่วย พิมพ์รัก สินสมบูรณ์ทอง ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
ศิริลักษณ์ ศุภปีติพร |
author_facet |
ศิริลักษณ์ ศุภปีติพร พิมพ์รัก สินสมบูรณ์ทอง |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พิมพ์รัก สินสมบูรณ์ทอง |
author_sort |
พิมพ์รัก สินสมบูรณ์ทอง |
title |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
title_short |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
title_full |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
title_fullStr |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
title_full_unstemmed |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
title_sort |
ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16899 |
_version_ |
1681409118156357632 |
spelling |
th-cuir.168992012-02-13T23:52:46Z ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด Prevalence and related factors of anxiety and depression in chronic back pain patients attending for physical therapy treatment พิมพ์รัก สินสมบูรณ์ทอง ศิริลักษณ์ ศุภปีติพร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ ความวิตกกังวล ความซึมเศร้า ปวดหลัง หลัง -- โรค -- ผู้ป่วย วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า ในผู้ป่วย ปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาทางกายภาพบำบัด ณ แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ และโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จำนวน 426 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐาน เกี่ยวกับผู้ป่วย แบบสอบถามเกี่ยวกับอาการปวดหลัง แบบสอบถาม Thai-Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย แบบสอบถามสภาพความเสียหายของออสเวสทรี (Oswestry Disability Questionnaire) และแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม ดัดแปลงจาก The Personal Resource Questionnaire : PRQ Part II วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน สถิติเชิงอนุมานไคสแควร์ (Chi-Square) หรือ ฟิชเชอร์ เอกแซคท์ (Fisher’sExact) สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว(One-Way ANOVA) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficiency) และสถิติถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression) ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง(ร้อยละ 62) มีอายุตั้งแต่ 20-85 ปี อายุเฉลี่ย 48.8 ปี ประกอบอาชีพรับราชการ เกษตรกร รับจ้าง มีรายได้แต่ละเดือนพอใช้แต่ไม่เหลือเก็บ ปวดหลังเรื้อรังมานานกว่า 3 เดือน การ วินิจฉัยที่พบส่วนใหญ่คือ โรคหมอนรองกระดูกสันหลังส่วนเอวเสื่อมทับเส้นประสาท ตำแหน่งรอยโรคที่พบมากที่สุดคือหลัง ส่วนล่าง และมีอาการร่วมกับอาการปวดหลัง เช่น ปวดร้าว ชา หรือการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา มีประวัติการกลับเป็นซ้ำ ประมาณ 1-2 ครั้งในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา บางคนต้องขาดงานหรือหยุดพัก ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยยาและการทำ กายภาพบำบัด เช่น ดึงหลัง แผ่นร้อน ใช้เครื่องช็อตเวฟหรือไมโครเวฟ สัปดาห์ละ 1-3 ครั้ง โดยส่วนมากได้รับการรักษามา ประมาณ 3-6 เดือน จากการประเมินภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยมีภาวะวิตกกังวลและซึมเศร้าแต่ไม่ ผิดปกติทางจิตเวชคิดเป็นร้อยละ 20.2 และ 21.6 ตามลำดับ และมีภาวะวิตกกังวลและซึมเศร้าที่มีความผิดปกติทางจิตเวช คิดเป็นร้อยละ 30.8 และ 8.7 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าระดับความรู้สึกปวดที่มากขึ้น พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะ วิตกกังวลหรือซึมเศร้าที่สูงขึ้น เช่นเดียวกับการมีภาวะทุพพลภาพที่มากขึ้น ซึ่งผลกระทบจากการเจ็บป่วยครั้งนี้มีผลต่ออารมณ์ จิตใจ การประกอบอาชีพ และการทำกิจวัตรประจำวัน อย่างไรก็ตามพบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับภาวะ วิตกกังวลเชิงลบ คือ ผู้ที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมต่ำ จะมีภาวะวิตกกังวลสูง ในทางกลับกันผู้ที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมสูง จะมี ภาวะวิตกกังวลต่ำสรุปผลการวิจัย พบความชุกของภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง คิดเป็นร้อยละ 30.8 และ8.7 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทั้งภาวะวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในผู้ป่วยกลุ่มนี้คือ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ความเพียงพอของรายได้ ตำแหน่งรอยโรคระยะเวลาที่เป็นโรค ระดับความปวด อาการ ร่วมกับอาการปวดหลัง เช่น ปวดร้าว ชา หรือการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา ประวัติการกลับเป็นซ้ำ การขาดงานหรือหยุดพัก ภาวะทุพพลภาพ การรักษาที่ได้รับ และผลกระทบจากการเจ็บป่วย ส่วนประวัติโรคทางจิตเวชเดิม ประวัติโรคทางจิตเวช ครอบครัว การวินิจฉัยโรค ระยะเวลาที่ได้รับการรักษา และแรงสนับสนุนทางสังคม พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะวิตกกังวล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสถานภาพ พบว่ามีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05อย่างไรก็ตามการให้การประเมิน การเข้าใจผู้ป่วยเพื่อให้การช่วยเหลือและการทราบถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ วิตกกังวลหรือภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังมีความสำคัญ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่อาจช่วยเพิ่มคุณภาพการรักษาและพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น The objective of this research was to study prevalence and related factors of anxiety and depression in 426 chronic back pain patients attending physical therapy treatment at Chiang Rai Prachanukor Hospital, Sawaan Pracharak Hospital, and Chao Phaya Yommarat Hospital. The questionnaires were used as a tool to measure and collected the key data which include demographic data, related symptom in back pain of patients, Thai-Hospital Anxiety and Depression Scale, Oswestry disability questionnaire, and Social support questionnaire (modified from The Personal Resource Questionnaire : PRQ Part II). The computer program was used in order to analyze all these data by using percent, mean, standard deviation, Chi-square or Fisher’s exact, one-way ANOVA, Pearson’s product moment correlation coefficiency and Linear regression. It can be concluded that most patients in this study were females (62%) in the 20 to 85 age group (mean=48.8); furthermore, most of them also worked as government officials, workers and agriculturists who did not have much salary for saving. The main cause of chronic back pain in the patient group was Lumbar Spondylosis at low back; in addition, sometimes patients also felt refer pain and weakness. Recurrent back pain was about once or twice a year; however, some patients had to absent from the work due to the pain. The major treatment was medicine, followed by physical therapy such as traction, hot pack, and the shortwave diathermy or microwave diathermy. Theduration of the treatment was between 3 and 6 months. From evaluating by anxiety and depression, the percent of the anxious patient group with doubtful cases (20.2%) was very nearby the depressed patient group with doubtful cases (21.6%), the number of anxious patient group with cases (30.8%) was very big different from the group of depressed patients with cases (8.7%). Besides this, it was found that the high degree of pain was related to the high degree of anxiety, depression, and disability because the pain could affect emotion, mind, jobs, and daily routine of the patients; nevertheless, high degree of social support could help the patients to reduce anxiety. The prevalence of anxiety and depression in chronic back pain patients, the major findings, were 30.8% and 8.7%, respectively and there were many related factors (e.g. Ages, educational level, jobs, salary, duration of disease, lesion, pain scale, refer pain, weakness, recurrence, type of treatment, pain-related work absent, and disability) could influence significantly on anxiety and depression (p<0.05). On the other hand, past history of psychiatry, past history of psychiatry in family members, diagnosis, treatment period and social support was associated significantly with anxiety (p<0.05), whereas marital status was related to depression at the significant level of 0.05 as well. According to the result of present study, findings and factors related to these patients group should be known, evaluated, and realized because it is extremely important in the way of improving the patients’ quality of life and providing effective treatment 2012-02-13T23:52:45Z 2012-02-13T23:52:45Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16899 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1600146 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |