เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย

การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในเมืองและชนบทได้ทำการวางแปลงศึกษาสวนบ้านไว้ 2 ส่วน คือ สวนบ้านในเมือง (จังหวัดนนทบุรี) และสวนบ้านในชนบท (จังหวัดขอนแก่น เชียงราย นครศรีธรรมราช และจังหวัดระยอง) การศึกษาแบ่งได้ดังนี้ 1) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยราชการตามจังหวัดพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พันธวัศ สัมพันธ์พานิช
Other Authors: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1719
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1719
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic วนเกษตร--ไทย
สวนบ้าน--ไทย
spellingShingle วนเกษตร--ไทย
สวนบ้าน--ไทย
พันธวัศ สัมพันธ์พานิช
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
description การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในเมืองและชนบทได้ทำการวางแปลงศึกษาสวนบ้านไว้ 2 ส่วน คือ สวนบ้านในเมือง (จังหวัดนนทบุรี) และสวนบ้านในชนบท (จังหวัดขอนแก่น เชียงราย นครศรีธรรมราช และจังหวัดระยอง) การศึกษาแบ่งได้ดังนี้ 1) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยราชการตามจังหวัดพื้นที่สวนบ้านที่วางแปลงศึกษา 2) โครงสร้างและลักษณะเชิงปริมาณของสวนบ้าน อาทิ ขนาดพื้นที่ศึกษา จำนวนต้น จำนวนชนิด ความสูง ึความโต (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระดับเพียงอก) ขนาดทรงพุ่ม ขนาดของชั้นเรือนยอด รูปแบบสวนบ้าน ดรรชนีความสำคัญ ความหลากหลายของสังคมพืช การกระจายทางแนวราบและแนวดิ่งของสังคมพืช โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้านในเมืองและชนบท 3) จำแนกประเภทชนิดพันธุ์ไม้ตามการใช้ประโยชน์และทำการเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้าน และ 4) ข้อมูลแปลงสวนย้าน เจ้าของสวนบ้าน ตลอดจนทัศนคติต่าง ๆ ที่มีต่อแปลงสวนบ้านถึงประโยชน์และอุปสรรคปัญหาที่เจ้าของสวนประสบและต้องการความช่วยเหลือ พร้อมทั้งเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้านกับป่าธรรมชาติ สวนบ้านในประเทศกับต่างประเทศ การศึกษาพบว่า สภาพแวดล้อมของระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในประเทศได้มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อยอยู่ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สวนบ้านจัดเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับป่าธรรมชาติมากที่สุด เป็นพื้นที่สีเขียวที่มีการบุกรุก คุกคาม หรือการขยายตัวของเมืองสูง โดยเฉพาะสวนบ้านในเมือง ส่วนบ้านเป็นรูปแบบที่มีการปฏิบัติกันภายในครอบครัวมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุา แต่เดิมสภาพความเป็นอยู่ของคนไทยเป็นแบบเรียบง่าย รักความสงบ และเป็นสังคมชนบท การประกอบอาชีพยังคงรักษาจารีตประเพณีดั้งเดิม ผลผลิตที่ได้ใช้ภายในครอบครัว ให้เพื่อนบ้านหรือการแลกเปลี่ยน ที่เหลือจะนำจำหน่าย การปฏิบัติดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงไป พันธุ์ไม้ที่นำมาปลูกจะตามความต้องการของเศรษฐกิจและสังคม สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบครอบครัวขยาย ลูกหลานจะย้ายจากครอบครัวใหญ่ การปฏิบัติดูแลรักษาสวนบ้านจึงพบเฉพาะเจ้าของสวนที่มีอายุมากปฏิบัติเท่านั้น และพบว่าสวนบ้านในประเทศมีพื้นที่เฉลี่ยประมาณ 2.64 ไร่ หรือ 0.42 เฮกแตร์ มีความหนาแน่นของพันธุ์ไม้เฉลี่ย 1,275 ต้น/เฮกแตร์ จำนวน 38 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นองค์ประกอบระหว่างไม้ผลกับไม้ยืนต้น ความโตของพันธุ์ไม้อยู่ระหว่าง 14.50-16.50 เซนติเมตร ความสูง 7.00-12.00 เมตร และสามารแบ่งชั้นเรือนยอดได้ 3.-4 ชั้น ในแง่ความสำคัญทางด้านนิเวศวิทยาพบว่า มะพร้าว หมาก มีความสำคัญที่สุดในแปลงสวนบ้าานของประเทศ รองลงมา คือ มะม่วง ลำไย ทองหลาง และสะเดาช้าง สำหรับความหลากหลายของสังคมพืชพิจารณาค่าโดย Shannon-Weaver indes (H) พบค่าเท่ากับ 3.044-4.255 ซึ่งความหลากหลายมีค่าสูงที่สุดในป่าดิบชื้น รองลงมาคือ ป่าดิบแล้ง ระบบสวนบ้าน ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ตามลำดับ ส่วนการนำผลผลิตจากพันธุ์ไม้มาใช้ประโยชน์ พบว่ามีการนำมะพร้าวมาใช้ประโยชน์มากที่สุดในทุกด้าน คือ เนื้อไม้ ผล ใบ และอื่น ๆ มีการนำไม้ยืนต้นมาใช้ในการก่อสร้าง ซ่อมแซมอุปกรณ์ หรือทำฟืน สำหรับไม้ผลมีการเก็บจำหน่ายเป็นหลักสำคัญ กิ่งก้านใช้ทำฟืนได้ ไม้ดอก-ไม้ประดับใช้ในพิธีทางศาสนาและเทศกาลต่าง ๆ พันธุ์ไม้ในสวนบ้านมีการให้ผลผลิตตลอดทั้งปีเนื่องจากเจ้าของสวนบ้านมีการดูแลรักษาสวนบ้านตลอดปีมีการใช้ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง การกำจัดวัชพืช การปลูกพืชคลุมดิน พืชหมุนเวียน ตลอดจนการปลูกพืชร่วมแบบหลากหลายชนิด เป็นต้น สวนบ้านประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น น้ำที่ใช้รดต้นไม้เน่าเสีย ฤดูฝน น้ำมักท่วม ฤดูแล้งมักขาดแคลนน้ำ วัชพืชมาก ขาดแหล่งแรงงานว่าจ้าง ขาดการประกันราคาผลผลิต ไม่มีตลาดรองรับ ขาดแหล่งเงินทุนสนับสนุน ตลอดจนขาดการส่งเสริมด้านองค์ความรู้ต่าง ๆ ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่เจ้าของสวนบ้านต้องการความช่วยเหลือทั้งสิ้น
author2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
author_facet จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม
พันธวัศ สัมพันธ์พานิช
format Technical Report
author พันธวัศ สัมพันธ์พานิช
author_sort พันธวัศ สัมพันธ์พานิช
title เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
title_short เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
title_full เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
title_fullStr เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
title_full_unstemmed เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
title_sort เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1719
_version_ 1681411519637618688
spelling th-cuir.17192008-03-06T12:17:47Z เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้าน ในเมืองและชนบท : รายงานการวิจัย ระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในประเทศไทย Comparison of environmental change on urban and rural homegarden as an agroforestry พันธวัศ สัมพันธ์พานิช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม วนเกษตร--ไทย สวนบ้าน--ไทย การเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่มีต่อระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในเมืองและชนบทได้ทำการวางแปลงศึกษาสวนบ้านไว้ 2 ส่วน คือ สวนบ้านในเมือง (จังหวัดนนทบุรี) และสวนบ้านในชนบท (จังหวัดขอนแก่น เชียงราย นครศรีธรรมราช และจังหวัดระยอง) การศึกษาแบ่งได้ดังนี้ 1) รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากหน่วยราชการตามจังหวัดพื้นที่สวนบ้านที่วางแปลงศึกษา 2) โครงสร้างและลักษณะเชิงปริมาณของสวนบ้าน อาทิ ขนาดพื้นที่ศึกษา จำนวนต้น จำนวนชนิด ความสูง ึความโต (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระดับเพียงอก) ขนาดทรงพุ่ม ขนาดของชั้นเรือนยอด รูปแบบสวนบ้าน ดรรชนีความสำคัญ ความหลากหลายของสังคมพืช การกระจายทางแนวราบและแนวดิ่งของสังคมพืช โดยทำการเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้านในเมืองและชนบท 3) จำแนกประเภทชนิดพันธุ์ไม้ตามการใช้ประโยชน์และทำการเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้าน และ 4) ข้อมูลแปลงสวนย้าน เจ้าของสวนบ้าน ตลอดจนทัศนคติต่าง ๆ ที่มีต่อแปลงสวนบ้านถึงประโยชน์และอุปสรรคปัญหาที่เจ้าของสวนประสบและต้องการความช่วยเหลือ พร้อมทั้งเปรียบเทียบระหว่างสวนบ้านกับป่าธรรมชาติ สวนบ้านในประเทศกับต่างประเทศ การศึกษาพบว่า สภาพแวดล้อมของระบบวนเกษตรแบบสวนบ้านในประเทศได้มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อยอยู่ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สวนบ้านจัดเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับป่าธรรมชาติมากที่สุด เป็นพื้นที่สีเขียวที่มีการบุกรุก คุกคาม หรือการขยายตัวของเมืองสูง โดยเฉพาะสวนบ้านในเมือง ส่วนบ้านเป็นรูปแบบที่มีการปฏิบัติกันภายในครอบครัวมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุา แต่เดิมสภาพความเป็นอยู่ของคนไทยเป็นแบบเรียบง่าย รักความสงบ และเป็นสังคมชนบท การประกอบอาชีพยังคงรักษาจารีตประเพณีดั้งเดิม ผลผลิตที่ได้ใช้ภายในครอบครัว ให้เพื่อนบ้านหรือการแลกเปลี่ยน ที่เหลือจะนำจำหน่าย การปฏิบัติดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงไป พันธุ์ไม้ที่นำมาปลูกจะตามความต้องการของเศรษฐกิจและสังคม สภาพความเป็นอยู่เป็นแบบครอบครัวขยาย ลูกหลานจะย้ายจากครอบครัวใหญ่ การปฏิบัติดูแลรักษาสวนบ้านจึงพบเฉพาะเจ้าของสวนที่มีอายุมากปฏิบัติเท่านั้น และพบว่าสวนบ้านในประเทศมีพื้นที่เฉลี่ยประมาณ 2.64 ไร่ หรือ 0.42 เฮกแตร์ มีความหนาแน่นของพันธุ์ไม้เฉลี่ย 1,275 ต้น/เฮกแตร์ จำนวน 38 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นองค์ประกอบระหว่างไม้ผลกับไม้ยืนต้น ความโตของพันธุ์ไม้อยู่ระหว่าง 14.50-16.50 เซนติเมตร ความสูง 7.00-12.00 เมตร และสามารแบ่งชั้นเรือนยอดได้ 3.-4 ชั้น ในแง่ความสำคัญทางด้านนิเวศวิทยาพบว่า มะพร้าว หมาก มีความสำคัญที่สุดในแปลงสวนบ้าานของประเทศ รองลงมา คือ มะม่วง ลำไย ทองหลาง และสะเดาช้าง สำหรับความหลากหลายของสังคมพืชพิจารณาค่าโดย Shannon-Weaver indes (H) พบค่าเท่ากับ 3.044-4.255 ซึ่งความหลากหลายมีค่าสูงที่สุดในป่าดิบชื้น รองลงมาคือ ป่าดิบแล้ง ระบบสวนบ้าน ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ตามลำดับ ส่วนการนำผลผลิตจากพันธุ์ไม้มาใช้ประโยชน์ พบว่ามีการนำมะพร้าวมาใช้ประโยชน์มากที่สุดในทุกด้าน คือ เนื้อไม้ ผล ใบ และอื่น ๆ มีการนำไม้ยืนต้นมาใช้ในการก่อสร้าง ซ่อมแซมอุปกรณ์ หรือทำฟืน สำหรับไม้ผลมีการเก็บจำหน่ายเป็นหลักสำคัญ กิ่งก้านใช้ทำฟืนได้ ไม้ดอก-ไม้ประดับใช้ในพิธีทางศาสนาและเทศกาลต่าง ๆ พันธุ์ไม้ในสวนบ้านมีการให้ผลผลิตตลอดทั้งปีเนื่องจากเจ้าของสวนบ้านมีการดูแลรักษาสวนบ้านตลอดปีมีการใช้ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง การกำจัดวัชพืช การปลูกพืชคลุมดิน พืชหมุนเวียน ตลอดจนการปลูกพืชร่วมแบบหลากหลายชนิด เป็นต้น สวนบ้านประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น น้ำที่ใช้รดต้นไม้เน่าเสีย ฤดูฝน น้ำมักท่วม ฤดูแล้งมักขาดแคลนน้ำ วัชพืชมาก ขาดแหล่งแรงงานว่าจ้าง ขาดการประกันราคาผลผลิต ไม่มีตลาดรองรับ ขาดแหล่งเงินทุนสนับสนุน ตลอดจนขาดการส่งเสริมด้านองค์ความรู้ต่าง ๆ ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นสิ่งที่เจ้าของสวนบ้านต้องการความช่วยเหลือทั้งสิ้น Comparison of Environmental Change on Urban and Rural Homegarden as an Agroforestry. This study cover the urban homegarden (Nonthaburi) and rural homegarden (Khon Kaen, Chiang Rai, Nakhon Si Thammarat and Rayong). It was emphasized details as: 1) The secondary collection data from government sections where the sample plots were placed 2) Structural characteristic of th eplant community analyzed quantitatively, i.e. size area, number of trees, number pf species, height, DBH, crown cover, layer of trees, type of homegarden, I.V.I, diversity of the plant community, horizontal and vertical distribution of tree stand by comparison betwwen urban and rural homegarden 3) Classification the species of tree follow utilization and comparison among homegardens and 4) Data of the sample plots. farmers, vision of farmers about the purpose useful of the sample plots in homegarden area and the problem which farmers need helping. Furthermore, comparison between homegarden with forestry homegarden in Thailand and homegardenin other countries. The results showed that the existing environemnt of homegarden in Thailand as an Agroforestry has always changed which was depend on economy and society. The homegarden area was similar forest and become the green area that was invaded by city. In the past, the homegarden has practiced by members to members in families. Now, there was the changed practice were done by old famers only. The results shown that the average of homegarden area in Thailand was about 2.64 rai (0.42 hectare). The plant community consisted mainly of fruit and trees with the density of 1,275 trees.hectare, totally 38 species. The trees were ranging from 14.50-16.50 cm., in DBH an d7.00-12.00 m. in height. The continuous canopy was divided 3-4 layers in terms of ecological Cocos nucifera, Areca catechu were dominate with I.V.I, followed by Mangifera indica, Dimocarpus longan, Ergthrina subumbrans and Toxicodendron succedanea and so on. The Shannon-Weaver index was 3.044-4.255 as high as some Moist evergreen of tropical rain forest, Dry evergreen forest, Homegarden, Mixed deciduous forest and Deciduous Dipterocarp forest respectively. The Cocos nucifera has the most useful by using parts of wood, fruit, leaf and so on. The homegarden had been practiced and oversaw in many years. Maintaining by using organic and in-organic, fertilizer, herbicide, groun cover growth, plant rotate growth, mutipurpose and mutilayer tree. The homegarden practice meet problems as waste water, flood, water arid, weeds, labour shortage, yield certification and finance supporting, extension of knowledge and technology. These mentioned problems, the farmers need helping a lot. ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2540 2006-08-12T14:27:05Z 2006-08-12T14:27:05Z 2540 Technical Report 9746371746 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1719 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 39976674 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย