Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008

Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Waraporn Lertwimonchai
Other Authors: Titinum Auamnoy
Format: Theses and Dissertations
Language:English
Published: Chulalongkorn University 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17438
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: English
id th-cuir.17438
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language English
topic Losartan
Irbesartan
Hypertension
spellingShingle Losartan
Irbesartan
Hypertension
Waraporn Lertwimonchai
Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009
author2 Titinum Auamnoy
author_facet Titinum Auamnoy
Waraporn Lertwimonchai
format Theses and Dissertations
author Waraporn Lertwimonchai
author_sort Waraporn Lertwimonchai
title Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
title_short Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
title_full Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
title_fullStr Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
title_full_unstemmed Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008
title_sort comparison of efficacy between losartan and irbesartan in hypertensive patients at saraburi hospital, thailand 2008
publisher Chulalongkorn University
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17438
_version_ 1681410005311422464
spelling th-cuir.174382012-03-07T05:11:02Z Comparison of efficacy between Losartan and Irbesartan in hypertensive patients at Saraburi hospital, Thailand 2008 การเปรียบเทียบประสิทธิผลระหว่างยาโลซาร์ทานและเออร์เบซาทานในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่โรงพยาบาลสระบุรี ประเทศไทย ปี 2551 Waraporn Lertwimonchai Titinum Auamnoy Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences Losartan Irbesartan Hypertension Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009 Objectives: 1. To investigate whether 50 mg losartan or 150 mg irbesartan could reduce seated diastolic blood pressure (SeDBP) and seated systolic blood pressure (SeSBP). 2. To compare antihypertensive efficacy between 50 mg losartan and 150 mg irbesartan controlling for (1) baseline SeDBP and SeSBP and (2) age. 3. To compare antihypertensive efficacy of 50 mg losartan and 150 mg irbesartan between gender controlling for (1) baseline SeDBP and SeSBP and (2) age. Method: A retrospective study design was performed. The data were collected from computerized Saraburi hospital main database. All hypertensive patients who were prescribed losartan 50 mg once daily or irbesartan 150 mg once daily for hypertensive treatment during January 1-June 30, 2008 were the population framework. Exclusion criteria included concomitant diseases and medications e.g., drugs known to affect BP that might interfere with the assessment of efficacy. Simple random technique was employed. The α 0.05, power 0.90 and effect size 0.15 were set to generate 200 samples in each group (total 400). The average baseline SeDBP and SeSBP of losartan group and irbesartan group were 81.57±8.56, 153.67±12.04 and 83.25±12.24, 160.04±15.42 respectively. Baseline SeDBP and SeSBP and age were used as covariates. After medications for 8 weeks SeDBP and SeSBP were measured and compared. Results: Total 400 (100%) patients, mostly 270 (67.50%) were female. The average age was 63.36±12.42 years. The majority occupation of the patients was merchant (35.00%). After treatment, the average SeDBP of losartan and irbesartan groups were 71.68±9.43 and 69.35±9.64 mmHg respectively (p=0.000, Paired t-test and p=0.000, Paired t-test). After treatment, the average SeSBP of losartan and irbesartan groups were 127.51±12.22 and 126.44±15.16 mmHg respectively (p=0.000, Paired t-test and p=0.000, Paired t-test). When controlled age (covariate) and added gender (fixed factor) to the model, the average SeDBP and SeSBP of losartan group and irbesartan group were 71.68±9.43, 127.51±12.22 and 69.35±9.64, 126.44±15.16 mmHg respectively (p=0.017, Two way ANCOVA and p=0.024, Two way ANCOVA without gender interaction (p=0.927, p=0.714). Conclusions: Both drugs, 50 mg losartan and 150 mg irbesartan once a day could significantly lower SeDBP and SeSBP (p=0.000, p=0.000, p=0.000, p=0.000, Paired t-test respectively). Irbesartan 150 mg once daily could significantly lower seated diastolic blood pressure and systolic blood pressure in hypertensive patients than losartan 50 mg once daily. (p=0.017, p=0.024, Two way ANCOVA respectively). Gender made no differences on efficacy of the two drugs. Qualifications of this study: This study used powerful statistical procedure, Two way ANCOVA controlling for two extraneous variables namely-baseline SeDBP and SeSBP and age. However there were still some limitations. 1. This research was a retrospective study consequently all data and variables were already collected. If it was a prospective design with a better protocol for systemically controlling errors and covariates including all reliable dependent and independent variables then it would yield better precise results. 2. This study proved only one aspect—lower blood pressure effect. To completely compare effectiveness of these two drugs, the future study may need comparing in more details such as effect to serum uric acid levels, side effects, and cost to ultimately conclude that which one is better วัตถุประสงค์: 1.เพื่อตรวจสอบว่ายาโลซาร์ทาน ขนาด 50 มิลลิกรัม หรือ ยาเออร์เบซาทาน ขนาด 150 มิลลิกรัม สามารถลดค่าความดันโลหิตของค่าล่างขณะนั่งพักและค่าความดันโลหิตค่าบนขณะนั่งพักได้หรือไม่ 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดความดันโลหิตระหว่างยาโลซาร์ทาน 50 มิลลิกรัม และเออร์เบซาทาน 150 มิลลิกรัมโดยควบคุม (1) ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพัก และ (2) อายุ 3.เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลในการลดความดันโลหิตของยาโลซาร์ทาน 50 มิลลิกรัม และยาเออร์เบซาทาน 150 มิลลิกรัม ระหว่างเพศโดยควบคุม (1) ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพัก และ (2) อายุ วิธีวิจัย: เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง ข้อมูลถูกเก็บจากฐานข้อมูลหลักของโรงพยาบาลสระบุรีในระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มประชากรเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดซึ่งได้รับยาโลซาร์ทาน ขนาด 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง หรือยาเออร์เบซาทาน ขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึง 30 มิถุนายน 2551 เกณฑ์การคัดออก คือ โรคที่เป็นร่วม และการใช้ยาอื่นร่วม เช่น ยาที่มีผลต่อความดันโลหิต ซึ่งอาจรบกวนการประเมินประสิทธิผล การวิจัยนี้ใช้เทคนิคการสุ่มอย่างง่าย ใช้ค่า α 0.05, power 0.90 และ effect size 0.15 ได้ค่าตัวอย่าง 200 ตัวอย่าง ในแต่ละกลุ่ม (ทั้งหมด 400) ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพักเฉลี่ยของกลุ่มที่ได้รับยาโลซาร์ทาน และกลุ่มที่ได้รับยาเออร์เบซาทาน คือ 81.57±8.56, 153.67±12.04 และ 83.25±12.24, 160.04±15.42 ตามลำดับ ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพัก และ อายุ นำมาใช้เป็นตัวแปรกวน หลังจากได้รับยาเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ค่าความดันโลหิตค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพักถูกนำมาวัดและเปรียบเทียบ ผลวิจัย: กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน (ร้อยละ 100) ส่วนใหญ่เป็นหญิง 270 คน (ร้อยละ 67.50), อายุเฉลี่ย 63.36 + 12.42 ปี อาชีพส่วนใหญ่ของผู้ป่วย คือ ค้าขาย (ร้อยละ 35.00) หลังจากได้รับยา ค่าความดันโลหิตเฉลี่ยของค่าล่างขณะนั่งพักของกลุ่มที่ได้รับยาโลซาร์ทาน และ กลุ่มที่ได้รับยาเออร์เบซาทาน คือ 71.68±9.43 และ 69.35±9.64 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ (p=0.000, Paired t-test, p=0.000, Paired t-test ) หลังจากได้รับยา ค่าความดันโลหิตเฉลี่ยของค่าบนขณะนั่งพักของกลุ่มที่ได้รับยาโลซาร์ทาน และกลุ่มที่ได้รับยาเออร์เบซาทาน คือ 127.51±12.22 และ 126.44±15.16 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ (p=0.000, Paired t-test และ p=0.000, Paired t-test ) เมื่อควบคุมตัวแปรอายุ (ตัวแปรกวน) และเพิ่มตัวแปรเพศ (ปัจจัยคงที่) เข้าไปในแบบจำลอง ค่าเฉลี่ยของค่าความดันโลหิตของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพักของกลุ่มที่ได้รับยาโลซาร์ทาน และกลุ่มที่ได้รับยาเออร์เบซาทาน คือ 71.68±9.43, 127.51±12.22 และ 69.35±9.64, 126.44±15.16 มิลลิเมตรปรอท ตามลำดับ (p=0.017, Two way ANCOVA และ p=0.024, Two way ANCOVA) โดยปราศจากปฏิกิริยาของตัวแปรเพศ (p=0.927, p=0.714) บทสรุป: ยาโลซาร์ทานขนาด 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง และยาเออร์เบซาทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง สามารถลดค่าความดันโลหิตค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพักได้อย่างมีนัยสำคัญ (p=0.000, p=0.000, p=0.000, p=0.000, Paired t-test ตามลำดับ) ยาเออร์เบซาทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง สามารถลดค่าความดันโลหิตของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพักในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้ดีกว่า ยาโลซาร์ทานขนาด 50 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้งอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.017, p=0.024, Two way ANCOVA ตามลำดับ) ตัวแปรเพศไม่ทำให้เกิดความแตกต่างในประสิทธิผลของยาทั้ง 2 ชนิด คุณสมบัติของการศึกษานี้ การศึกษานี้ใช้กระบวนการทางสถิติที่มีประสิทธิภาพ คือใช้สถิติ Two way ANCOVA โดยควบคุมตัวแปรกวน 2 ตัว นั่นคือ ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างและค่าบนขณะนั่งพัก และ อายุ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีข้อจำกัดบางประการ คือ 1.การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง ดังนั้นข้อมูลและตัวแปรทั้งหมดได้ถูกเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว หากการศึกษาเป็นแบบการศึกษาไปข้างหน้า ซึ่งเป็นการออกแบบการวิจัยที่ดีกว่า ร่วมกับวิธีการวิจัยที่มีการควบคุมความผิดพลาด และตัวแปรกวน รวมถึงตัวแปรต้น และตัวแปรตามที่เชื่อถือได้อย่างเป็นระบบ การศึกษานั้นจะให้ผลที่ถูกต้องมากกว่า 2. การศึกษานี้เปรียบเทียบเพียงแง่มุมเดียว คือผลในการลดความดันโลหิต ถ้าจะเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยา 2 ตัวนี้อย่างสมบูรณ์ การศึกษาในครั้งต่อไปอาจต้องเพิ่มการเปรียบเทียบในรายละเอียดอื่น ตัวอย่างเช่น ผลต่อระดับกรดยูริคในซีรั่ม ผลข้างเคียง และค่าใช้จ่าย เพื่อสรุปในท้ายสุดว่ายาตัวใดมีผลในผลการรักษาดีกว่า คำสำคัญ: ยาโลซาร์ทาน ยาเออร์เบซาทาน ความดันโลหิตสูง ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าล่างขณะนั่งพัก ค่าความดันโลหิตพื้นฐานของค่าบนขณะนั่งพัก ค่าความดันโลหิตของค่าล่างขณะนั่งพัก ค่าความดันโลหิตของค่าบนขณะนั่งพัก, Paired t-test, One way ANOVA, Two way ANCOVA 2012-03-07T05:11:01Z 2012-03-07T05:11:01Z 2009 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17438 en Chulalongkorn University 1227641 bytes application/pdf application/pdf Chulalongkorn University