ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย

วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศุจิกา ศรีวรากร
Other Authors: สาริณีย์ กฤติยานันต์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17452
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.17452
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การใช้ยา
หัวใจ -- โรค -- การรักษาด้วยยา
เบาหวาน -- การรักษาด้วยยา
ผู้ป่วย
spellingShingle การใช้ยา
หัวใจ -- โรค -- การรักษาด้วยยา
เบาหวาน -- การรักษาด้วยยา
ผู้ป่วย
ศุจิกา ศรีวรากร
ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
description วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 สาริณีย์ กฤติยานันต์
author_facet สาริณีย์ กฤติยานันต์
ศุจิกา ศรีวรากร
format Theses and Dissertations
author ศุจิกา ศรีวรากร
author_sort ศุจิกา ศรีวรากร
title ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
title_short ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
title_full ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
title_fullStr ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
title_full_unstemmed ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
title_sort ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17452
_version_ 1681411326226726912
spelling th-cuir.174522012-03-07T07:16:21Z ความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย Sensitivity and specificity of self reported medication adherence tools ศุจิกา ศรีวรากร สาริณีย์ กฤติยานันต์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์ การใช้ยา หัวใจ -- โรค -- การรักษาด้วยยา เบาหวาน -- การรักษาด้วยยา ผู้ป่วย วิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความไวและความจำเพาะของเครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาแบบรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วย 3 ชนิด ได้แก่ Morisky Medication Adherence Scale (MMAS) ชนิด 4 คำถาม MMAS ชนิด 8 คำถาม และ Brief Medication Questionnaire (BMQ) โดยใช้การนับเม็ดยาที่บ้านของผู้ป่วยหลังได้รับยาแล้ว 2 สัปดาห์ เป็นวิธีมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบ MMAS ชนิด 4 คำถาม และชนิด 8 คำถาม เป็นเครื่องมือมิติเดี่ยว ส่วน BMQ ประกอบด้วย 4 มิติ ได้แก่ ความไม่ร่วมมือในการใช้ยาด้านแผนการใช้ยา (regimen screen) ด้านความเชื่อ (belief screen) ด้านความจำ (recall screen) และ ด้านการเข้าถึงยา (access screen) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีโรคเบาหวาน และ/หรือ โรคไขมันในเลือดผิดปกติ และ/หรือ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด อย่างน้อย 1 โรค จำนวน 229 ราย ที่มารับการรักษาที่ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม 2552 ข้อมูลจากการนับเม็ดยาสามารถแบ่งความไม่ร่วมมือในการใช้ยาออกเป็น 3 ลักษณะได้แก่ ร่วมมือ (มีความไม่ร่วมมือร้อยละ 0) ไม่ร่วมมือเป็นครั้งคราว (มีความไม่ร่วมมือมากกว่าร้อยละ 0 และน้อยกว่าร้อยละ 20) และไม่ร่วมมือซ้ำๆ (ความไม่ร่วมมือมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 20) ผลการวิจัยพบว่า ความไว และความจำเพาะในการคัดกรองผู้ป่วยที่มีความไม่ร่วมมือซ้ำๆ ของ MMAS ชนิด 4 คำถาม คิดเป็น ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 100.0 ตามลำดับ ของ MMAS ชนิด 8 คำถาม คิดเป็นร้อยละ 30.3 และ ร้อยละ 87.2 ของ BMQ ด้านแผนการใช้ยา (regimen screen) คิดเป็น ร้อยละ 87.9 และ ร้อยละ 71.9 ด้านความเชื่อ (belief screen) คิดเป็น ร้อยละ 60.6 และ ร้อยละ 69.9 ด้านความจำ (recall screen) คิดเป็น ร้อยละ 72.7 และ ร้อยละ 32.1 และด้านการเข้าถึงยา (access screen) คิดเป็น ร้อยละ 12.1 และ ร้อยละ 90.3 ส่วนความไวและความจำเพาะในการคัดกรองผู้ป่วยที่ไม่ร่วมมือเป็นครั้งคราวของ MMAS ชนิด 4 คำถาม คิดเป็น ร้อยละ 0.0 และร้อยละ 99.0 ของ MMAS ชนิด 8 คำถาม คิดเป็นร้อยละ 17.0 และ ร้อยละ 87.0 ของ BMQ ด้านแผนการใช้ยา (regimen screen) คิดเป็น ร้อยละ 39.5 และ ร้อยละ 67.0 ด้านความเชื่อ (belief screen) คิดเป็น ร้อยละ 30.2 และ ร้อยละ 60.0 ด้านความจำ (recall screen) คิดเป็น ร้อยละ 77.5 และ ร้อยละ 43.0 และด้านการเข้าถึงยา (access screen) คิดเป็น ร้อยละ 10.1 และ ร้อยละ 90.0 MMAS ชนิด 4 คำถาม MMAS ชนิด 8 คำถาม และ regimen screen ของ BMQ มีพื้นที่ใต้กราฟ ROC มากกว่า 0.5 โดย regimen screen มีพื้นที่ใต้กราฟมากกว่า MMAS ชนิด 4 และ 8 คำถาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ MMAS ทั้งชนิด 4 คำถามและชนิด 8 คำถาม สามารถคัดกรองความไม่ร่วมมือในการใช้ยาได้เฉพาะในระดับผู้ป่วย BMQ สามารถใช้คัดกรองความไม่ร่วมมือในการใช้ยาได้ทั้งในระดับผู้ป่วยและในระดับยาแต่ละรายการ นอกจากนี้ BMQ ยังสามารถจำแนกอุปสรรคของความไม่ร่วมมือในการใช้ยาออกเป็น 3 ด้าน ส่วน MMAS ระบุได้เพียงมีความไม่ร่วมมือในการใช้ยาเกิดขึ้น แต่ไม่ได้ออกแบบไว้ให้สามารถชี้ปัญหาของความไม่ร่วมมือในการใช้ยา การวิจัยนี้สรุปว่า เครื่องมือวัดความร่วมมือในการใช้ยาทั้ง 3 ชนิด สามารถใช้วัดความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยได้ โดยแนะนำให้ใช้ BMQ ด้านความจำค้นหาปัญหาความไม่ร่วมมือเป็นครั้งคราว และใช้ BMQ ด้านความเชื่อค้นหาปัญหาความไม่ร่วมมือซ้ำ และ BMQ ด้านแผนการใช้ยาเมื่อจำเป็นต้องคัดกรองความไม่ร่วมมือด้านแผนการใช้ยาสำหรับยาแต่ละรายการ The purpose of this study was to investigate sensitivity and specificity of 3 medication adherence tools including 4-item Morisky Medication Adherence Scale (MMAS), 8-item MMAS, and Brief Medication Questionnaire (BMQ) using pill count at patient’s home 2 weeks after receiving medications as the standard method. While the 4-item MMAS and the 8-item MMAS were the single dimension tool, BMQ consisted of 4 dimensions including regimen screen, belief screen, recall screen, and access screen. The 229 outpatients treated at Sattahip Primary Care Unit, Chonburi, from June to August 2009 who had at least one of diabetic, and/or cardiovascular disease, and/or dyslipidemia were enrolled into the study. The pill count classified non adherence into 3 groups: adherence (non-adherence = 0%), sporadic non-adherence (20% > non-adherence > 0%), and repeated non-adherence (non-adherence >= 20%). The results showed that 4-item MMAS had 3.0% sensitivity with 100.0% specificity for repeated non-adherence whereas the 8-item MMAS had 30.3% sensitivity with 87.2% specificity. The regimen screen of BMQ had 87.9% sensitivity with 71.9% specificity. The belief screen had 60.6% sensitivity with 69.9% specificity. The recall screen had 72.7% sensitivity with 32.1% specificity. The access screen had 12.1% sensitivity and 90.3% specificity. For the sporadic non-adherence, the 4-item MMAS had 0.0% sensitivity with 99.0% specificity, the 8-item MMAS had 17.0% sensitivity with 87.0% specificity. The regimen screen of BMQ had 39.5% sensitivity with 67.0% specificity. The belief screen had 30.2% sensitivity with 60.0% specificity. The recall screen had 77.5% sensitivity with 43.0% specificity. The access screen had 10.1% sensitivity and 90.0% specificity. Although the 4-item MMAS, the 8-item MMAS, and the regimen screen had area under ROC curve more than 0.5, the regimen screen had significantly larger area under curve of ROC than 4-item and 8-item MMAS. While the 4-item MMAS and the 8 item MMAS could detect medication non-adherence only at the patient level, BMQ could identify non adherence both at the patient and the drug item levels. BMQ could not only determine the existence of non adherence like the 4-item and the 8-item of MMAS, but could also codify non-adherence problems into regimen, belief, recall, and access difficulties. The study concluded that all three types of self-reported medication adherence tools could be used to detect patient medication non-adherence. The result suggested in favor of recall screen of BMQ for sporadic non-adherence, belief screen of BMQ for repeated non-adherence while the regimen screen of BMQ was recommended when non-adherence at the drug item level was essential 2012-03-07T07:16:20Z 2012-03-07T07:16:20Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17452 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1526591 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย