ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์
Other Authors: สุรพันธ์ สิทธิสุข
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17656
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.17656
record_format dspace
spelling th-cuir.176562016-12-10T09:19:26Z ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง Correlation between n-terminal pro-b-type natriuretic peptide and 99mTc-sestamibi myocardial perfusion scintigraphic defect in chronic ischemic heart disease patient วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์ สุรพันธ์ สิทธิสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ กล้ามเนื้อหัวใจ -- โรค กรดอะมิโน เปปไทด์ Myocardium -- Diseases Amino acids Peptides วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ความสำคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลที่สรุปชัดเจนเกี่ยวกับอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ (เอ็นทีโปรบีเอ็นพี) ในการนำมาเป็นตัวแสดงถึงภาวะการกระตุ้นให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือความสัมพันธ์กับพื้นที่ของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลต่างที่เพิ่มขึ้นของระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีและพื้นที่การลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจโดยใช้สารเภสัชรังสีในการทำนายพื้นที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและพยากรณ์โรคในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง วิธีการวิจัย ตรวจระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีในพลาสมาขณะพักและหลังจากการตรวจการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจโดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเชียมเซสตามิบิทันที ในผู้ป่วยที่สงสัยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ติดต่อกันจำนวน 100 คน โดยใช้ภาพบูลส์อายในการคำนวนพื้นที่การลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ผลการวิจัย ระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีขณะพักในผู้ป่วยที่มีการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจมีค่าสูงกว่าผู้ป่วยที่ผลปกติอย่างมีนัยสำคัญ (2,291.80 (5.8/35,304.0) พิโคกรัมต่อมิลลิลิตร และ 159.82 (16.3/590.9) พิโคกรัมต่อมิลลิลิตร, p<0.001) ระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีหลังการตรวจด้วยสารเภสัชรังสีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับค่าขณะพักเฉพาะกลุ่มที่ตรวจด้วยการวิ่งสายพาน (p=0.013) ความสัมพันธ์ระหว่างผลต่างของเอ็นทีโปรบีเอ็นพีและพื้นที่การลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจชั่วคราวอยู่ในระดับตํ่ามากและไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -0.189, p = 0.120) สรุป ผลต่างของระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะการกระตุ้นให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ระดับเอ็นทีโปรบีเอ็นพีขณะพักที่สูงในผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอาจช่วยเพิ่มแนวโน้มในการวินิจฉัยโรคได้ BACKGROUND: There is controversy whether NT-proBNP is able to identify stress-induced myocardial ischemia or correlate with ischemic area. OBJECTIVE: To determine correlation between the difference of resting and post stress NT-proBNP (ΔNT-proBNP) and area of nuclear perfusion defect whether it can predict ischemic area and evaluate prognosis of chronic ischemic heart disease patient. METHOD: Plasma NT-pro BNP level was measured before and immediately after 99mTc-sestamibi myocardial perfusion scintigraphy in 100 consecutive patients for suspected ischemic heart disease. Bull’s eye imaging was used to calculate area of perfusion defect. RESULTS: Plasma NT-pro BNP at rest were significantly higher in patients who had myocardial perfusion defects (2,291.80 (5.8/35,304.0) pg/mL vs 159.82 (16.3/590.9) pg/mL, p<0.001). The NT-proBNP levels at rest changed significantly only after exercise stress testing (p=0.013). The correlation between ΔNT-proBNP and reversible perfusion defect was poor and no statistical significant (r = -0.189, p = 0.120) CONCLUSION: ΔNT-proBNP does not correlate well with stress induced myocardial ischemia. The elevation of resting NT-proBNP in patients who suspected ischemic heart disease may represent the tendency to diagnose IHD. 2012-03-10T04:11:44Z 2012-03-10T04:11:44Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17656 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3415220 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic กล้ามเนื้อหัวใจ -- โรค
กรดอะมิโน
เปปไทด์
Myocardium -- Diseases
Amino acids
Peptides
spellingShingle กล้ามเนื้อหัวใจ -- โรค
กรดอะมิโน
เปปไทด์
Myocardium -- Diseases
Amino acids
Peptides
วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์
ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 สุรพันธ์ สิทธิสุข
author_facet สุรพันธ์ สิทธิสุข
วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์
format Theses and Dissertations
author วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์
author_sort วรวุฒิ รุ่งประดับวงศ์
title ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างอะมิโนเทอร์มินัลโปรบีไทป์แนทริยูเรติกเป็ปไทด์ และการลดลงของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ โดยใช้สารเภสัชรังสี 99 เอ็ม เทคนิเซียมเซสตามิบิในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17656
_version_ 1681413774403174400