ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรทัย ชัยเวชการ
Other Authors: เกวลี ฉัตรดรงค์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17741
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.17741
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อสุจิ
สุนัข -- น้ำเชื้อ
spellingShingle อสุจิ
สุนัข -- น้ำเชื้อ
อรทัย ชัยเวชการ
ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 เกวลี ฉัตรดรงค์
author_facet เกวลี ฉัตรดรงค์
อรทัย ชัยเวชการ
format Theses and Dissertations
author อรทัย ชัยเวชการ
author_sort อรทัย ชัยเวชการ
title ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
title_short ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
title_full ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
title_fullStr ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
title_full_unstemmed ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
title_sort ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17741
_version_ 1681409237621669888
spelling th-cuir.177412012-03-11T07:55:01Z ผลของการแช่เย็นก่อนการแช่แข็งต่อการทำงานของเอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส รีแอคทีฟ ออกซิเจน สปีชีส์และคุณภาพอสุจิในสุนัข Effects of cold storage prior to freezing on glutathione peroxidase and superoxide dismutase activities, reactive oxygen species and sperm quality in dogs อรทัย ชัยเวชการ เกวลี ฉัตรดรงค์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ อสุจิ สุนัข -- น้ำเชื้อ วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 วัตถุประสงค์ของการทดลองเพื่อศึกษาการทำงานของกลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดส (GPx) และซุปเปอร์ออกไซด์ดิสมูเตส (SOD) ในน้ำเลี้ยงอสุจิ และอสุจิแช่เย็น และแช่แข็งในสุนัข และเปรียบเทียบผล ของการเติม GPx ร่วมกับ SOD และ SOD เพียงชนิดเดียวในสารเจือจางน้ำเชื้อ การศึกษานี้แบ่งเป็น 2 การทดลอง 1) รีดเก็บน้ำเชื้อสุนัขจา นวน 3 ตัว รวมน้ำเชื้อจนมีความเข้มข้น 1,200 × 106 ใน 1 มล. แล้วแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่ม ทำการแช่เย็นอสุจิที่เวลา 3 24 และ 96 ชั่วโมง หลังจากนั้นนำไปแช่แข็ง ทำการทดลองซ้ำ 7 ครั้ง 2) รวมน้ำเชื้อจากสุนัข 2- 3 ตัว เพื่อให้มีความเข้มข้น 600 x 106 ใน 1 มล. จากนั้นแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เติม GPx (5 ยูนิต/มล.) และ SOD (100 ยูนิต/มล. ) กลุ่มที่ 2 เติม SOD (100 ยูนิต/มล.) เท่านั้น กลุ่มที่ 3 กลุ่มควบคุม ทำการทดลองซ้ำ 9 ครั้ง การประเมินคุณภาพอสุจิได้แก่ อัตราการเคลื่อนที่ ระดับการเคลื่อนที่ ไปข้างหน้า อัตราการมีชีวิต ความสมบูรณ์ของดีเอ็นเอ และอะโครโซม ในขณะที่การศึกษา tROS และการ ทำงานของ SOD และ GPx ถูกทดสอบในการทดลองที่ 1 เท่านั้น โดยพบว่าการแช่เย็นอสุจิที่เวลา 96 ชั่วโมง ทำให้มีอัตราการเคลื่อนที่ และระดับการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าลดลงจาก 3 ชั่วโมง (p<0.05) การแช่แข็งอสุจิ ภายหลังการแช่เย็นที่เวลา 96 ชั่วโมง ทำ ให้ อัตราการเคลื่อนที่ อัตราการมีชีวิต และความสมบูรณ์ของอะ โครโซมลดลงจาก 3 ชั่วโมง (p<0.05) การแช่เย็นและแช่แข็งอสุจิในทั้ง 3 ช่วงเวลาไม่ทา ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของ tROS และ GPx (p>0.05) ในขณะที่การแช่แข็งภายหลังการแช่เย็นตั้งแต่เวลา 24 ชั่วโมงขึ้น ไป ทำ ให้ปริมาณ SOD ในน้ำเชื้อสุนัขลดลง (p<0.05) และพบว่ากลุ่มที่เติม SOD และ GPx ลงในสารเจือจาง น้ำเชื้อทำให้อสุจิแช่เย็น 96 ชั่วโมง มีอัตราการมีชีวิตสูงขึ้นจากกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่เติมเฉพาะ SOD (p<0.05) และทำให้อัตราการมีชีวิตในอสุจิแช่แข็งที่ผ่านการทำละลายในชั่วโมงที่ 0 สูงกว่ากลุ่มควบคุม (p<0.05) และมีแนวโน้มสูงกว่ากลุ่มที่เติมเฉพาะ SOD (p=0.08) รวมทั้งทำให้เปอร์เซ็นต์อสุจิที่มีดีเอ็นเอ สมบูรณ์ในอสุจิแช่แข็งที่ผ่านการทำละลายจนถึงชั่วโมงที่ 6 สูงกว่ากลุ่มควบคุม (p<0.05) และมีแนวโน้มสูง กว่ากลุ่มที่เติมเฉพาะ SOD (p=0.08) การศึกษานี้บ่งชี้ว่าควรขนส่งน้ำเชื้อแช่เย็นภายใน 24 ชั่วโมง แล้วทำการ แช่แข็งเพื่อคงระดับคุณภาพน้ำเชื้อไว้ และการเติม GPx ร่วมกับ SOD ลงในสารเจือจางน้ำเชื้อสามารถ ป้ องกันความเสียหายของการมีชีวิตของอสุจิและเปอร์เซ็นต์อสุจิที่มีดีเอ็นเอสมบูรณ์ในสุนัขได้ทั้งในน้ำเชื้อแช่เย็นและแช่แข็ง The objectives of the present study were to investigate activities of glutathione peroxidase (GPx) and superoxide dismutase (SOD) in dog semen after chilled and frozen, and to compare effects of GPx combined with SOD and SOD alone added in the extender for chilling and freezing of dog semen. The study was divided into two experiments. Experiment 1, semen was collected from three dogs, pooled to obtain a final concentration of 1,200 × 106 /mL. The sample was divided into 3 aliquots: chilled for 3, 24 and 96 hours prior to freezing. The experiment 1 was performed with 7 repetitions. Experiment 2, semen was collected from two or three dogs and pooled to constitute 600 x 106 of total sperm. The sample was divided into 3 groups, chilled and cryopreserved in extenders supplementated with; 1) GPx (5 units/mL) combined with SOD (100 units/mL), 2) SOD (100 units/mL) alone, and 3) without antioxidative enzyme supplementation (controls). The experiment 2 was performed with 9 repetitions. All samples were evaluated for sperm quality including motility, progressive motility, viability, DNA and acrosome integrity. Total reactive oxygen species (tROS), SOD and GPx activity assays were examined in the experiment 1. The sperm chilled up to 96 hours had lower percentages of motility and progressive motility than that at 3 hours (p < 0.05). The frozen-thawed sperm after chilled for 96 hours had lower percentages of motility, viability and acrosome integrity than the frozen-thawed sperm after chilled for 3 hours (p < 0.05). The tROS and GPx activity did not change at all times after chilling and freezing (p > 0.05). The frozen-thawed sperm after chilled up to 24 hours had lower SOD activity than that frozen after chilled for 3 hours (p < 0.05). After 96 hours cold storage, sperm frozen in the extender containing GPx and SOD had higher viability than the control and the extender containing SOD alone (p < 0.05) whereas the other parameters were not different (p > 0.05). Chilled dog semen should be transported within 24 hours to a freezing centre to maintain sperm quality. Addition of GPx combined with SOD protected viability of frozen-thawed dog sperm up to 96 hours cold storage 2012-03-11T07:55:00Z 2012-03-11T07:55:00Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17741 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1070945 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย