ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี

วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์
Other Authors: ธนวดี บุญลือ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17902
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.17902
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การสื่อสารสาธารณสุข
การสอนด้วยสื่อ
ภูมิคุ้มกัน -- การศึกษาและการสอน
spellingShingle การสื่อสารสาธารณสุข
การสอนด้วยสื่อ
ภูมิคุ้มกัน -- การศึกษาและการสอน
วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์
ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528
author2 ธนวดี บุญลือ
author_facet ธนวดี บุญลือ
วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์
format Theses and Dissertations
author วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์
author_sort วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์
title ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
title_short ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
title_full ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
title_fullStr ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
title_full_unstemmed ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
title_sort ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17902
_version_ 1681412756651114496
spelling th-cuir.179022012-04-24T15:34:16Z ประสิทธิผลของสื่อ ในการให้ความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลราชวิถี The media effectiveness on dissemination of immunization information : a case study of post natal mothers in Radvithi Hospital วชิราภรณ์ เรืองไพบูลย์ ธนวดี บุญลือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การสื่อสารสาธารณสุข การสอนด้วยสื่อ ภูมิคุ้มกัน -- การศึกษาและการสอน วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 ปัญหาสุขภาพอนามัยของประชาชน เป็นปัญหาที่มีความสำคัญอย่างยิ่งของประเทศไทยโดยเฉพาะสุขภาพในวัยเด็กมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดโรคและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้มาก โรคที่เป็นอันตรายต่อเด็กล้วนเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็ก ซึ่งสถานบริการของรัฐทุกแห่งมีความพร้อมที่จะให้บริการโดยไม่คิดมูลค่า กระทรวงสาธารณสุข มุ่งหวังให้ทารกและเด็ก ได้รับบริการอย่างทั่วถึง จึงได้มีนโยบายให้สถานพยาบาลของรัฐให้คำแนะนำและความรู้ดังกล่าวแก่มารดาหลังคลอด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการเปลี่ยนแปลงความรู้ของมารดา เรื่องภูมิคุ้มกันโรค ระหว่างก่อนให้ความรู้และหลังให้ความรู้ โดยใช้สื่อสไลด์ประกอบเสียง และใช้ภาพพลิกประกอบคำบรรยาย 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการเรียนรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคระหว่างมารดาที่ได้รับความรู้โดยใช้สไลด์ประกอบเสียง และที่ได้รับความรู้โดยใช้ภาพพลิกประกอบคำบรรยาย 3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลของการเรียนรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคระหว่างมารดาที่ได้รับความรู้โดยใช้สื่อสไลด์ประกอบเสียง กับมารดาที่ไม่ได้รับความรู้และระหว่างมารดาที่ได้รับความรู้โดยใช้ภาพพลิกประกอบคำบรรยาย กับมารดาที่ไม่ได้รับความรู้ 4. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคจำแนกตาม ก. อายุ ข. ระดับการศึกษา ค. ระดับรายได้ ง. อาชีพ จ. จำนวนบุตรที่คลอดมีชีวิต กลุ่มตัวอย่างคือหญิงหลังคลอดที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลราชวิถี จำนวน 109 คน รูปแบบการวิจัยเป็นการทดลอง โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้ความรู้ภูมิคุ้มกันโรคโดยใช้ภาพพลิกประกอบคำบรรยาย จำนวน 39 คน กลุ่มที่ 2 ให้โดยใช้สไลด์ประกอบเสียง จำนวน 40 คน กลุ่มที่ 3เป็นกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับความรู้โดยสื่อใดๆ จำนวน 30 คน การวัดคะแนนความรู้กระทำ 2 ครั้ง คือก่อนและหลังให้ความรู้ ผลการวิจัย พบว่า 1. สไลด์ประกอบเสียง และภาพพลิกประกอบคำบรรยาย ทำให้เกิดการเพิ่มความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 2. สไลด์ประกอบเสียง และภาพพลิกประกอบคำบรรยาย ทำให้เกิดการเพิ่มความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคแก่มารดาหลังคลอดโดยไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.มารดาหลังคอดที่ได้รับคำแนะนำเรื่องภูมิคุ้มกันโรค โดยใช้สไลด์ประกอบเสียง หรือภาพพลิกประกอบคำบรรยาย จะมีความรู้เพิ่มมากกว่ามารดาที่ไม่ได้รับคำแนะนำโดยใช้สื่อใดๆ เลย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 4. มารดาหลังคลอดที่มีอายุ การศึกษา รายได้ และอาชีพต่างกันความรู้เรื่องภูมิคุ้มกันโรคที่เพิ่มขึ้น จะไม่แตกต่างกัน แต่มารดาหลังคลอดที่มีจำนวนบุตรที่คลอดมีชีวิตตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป จะมีความรู้เพิ่มขึ้นต่างจากมารดาที่มีจำนวนบุตรที่มีชีวิตเพียง 1 คน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Health problem of the people is one of the extremely important problems of the country particularly among the children. This is due to the fact that they are highly susceptible to infections which might be fatal. Most of the diseases of childhood are preventable with immunizations which are available and free of charge at all government health facilities. The ministry of Public Health intends to provide this kind of service for all infants and children. Therefore, one of its policies is to have all government health facilities give advice on immunizations to post-natal mothers. This study has the following objectives. 1. To compare the changes in mothers' knowledge of immunizations prior to giving the advice with that afterwards through the use of sound-slide and flip-charts with explanation. 2. To compare the level of learning of the mothers about immunizations through the use of sound-slide with that through flip-charts with explanation. 3. To compare the level of learning about immuniza¬tions of the mothers educated with sound slide set with that of the non-educated group, and to compare that of the mothers educated with flip-charts with explanation with the non-educated, control group. 4. To assess the differences in the mother's knowledge of immunizations by different background namely: a) age, b) educational background, c) income, d) occupation and e) number of living children. The study sample included 109 post-natal mothers at the Rajvitee Hospital. The study applied experimental method. The sample was divided into 3 groups, i.e., group 1 consisting of 39 mothers educated about immunizations through the use flip-charts with explanation, group 2 with 40 mothers educated through the sound-slide: and group 3 of 30 mothers as the control group. Pre and post tests were given prior to and after giving the immunization advice. The research results indicated that. 1. Both the sound slide set and flip-charts plus explanation significantly increased the knowledge of immuniza¬tions among the post-natal mothers at a .01 level 2. The sound slide set was not found to be statistically different from the flip-charts with explanation in educating the post-natal mothers about immunizations. 3. The post-natal mothers who were given advice on immunizations, through either the sound slide set or the flip-charts with explanation, had higher knowledge than the non-educated ones at a statistical significance level of .01 4. The post-natal mothers with different ages, educational background and occupation were hot found to have different knowledge increased of immunizations. But the mothers having 3 or more living children would have significantly higher increased knowledge than those having fewer children of .05 level 2012-03-14T13:56:57Z 2012-03-14T13:56:57Z 2528 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17902 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 346005 bytes 343708 bytes 431721 bytes 280759 bytes 364188 bytes 386719 bytes 559040 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย