ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17934 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.17934 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
นักศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช -- นักศึกษา |
spellingShingle |
นักศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช -- นักศึกษา วานิช มาลัย ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 |
author2 |
อุทุมพร จามรมาน |
author_facet |
อุทุมพร จามรมาน วานิช มาลัย |
format |
Theses and Dissertations |
author |
วานิช มาลัย |
author_sort |
วานิช มาลัย |
title |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
title_short |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
title_full |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
title_sort |
ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17934 |
_version_ |
1681408793893666816 |
spelling |
th-cuir.179342012-04-24T15:54:42Z ความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลัง ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร และวิธีศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Relationships between background, social, economic and demographic aspects and study methods with students' achievement of educational studies school, Sukhothai Thammathirat Open University วานิช มาลัย อุทุมพร จามรมาน วินัย รังสินันท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย นักศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช -- นักศึกษา วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527 การวิจัยนี้เพื่อศึกษาหาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เฉพาะสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ หลักสูตรปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 ปี ปีการศึกษา 2523 ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา จำนวน 740 คน จากทุกภาคทางภูมิศาสตร์ โดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ซึ่งครอบคลุมตัวแปรด้านต่างๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร ภูมิหลัง และวิธีศึกษา จำนวน 57 ตัว สรุปผลการวิจัย คือ 1. ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 มีตัวแปร 7 ตัว คือ ภาค อายุ ถิ่นที่ตั้งและชุมชนที่อยู่อาศัย ความต้องการศึกษาต่อหรือไม่ศึกษาต่อ การอ่านเอกสารการสอน วิธีเข้ารับการสอนเสริมและจำนวนวันที่เตรียมตัวสอบ 2. สมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคือ สมการที่อยู่ในรูปคะแนนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน = 0.276 (การอ่านเอกสารการสอน) - 0.235 (อายุ) + 0.138 (ภาค) + 0.115 (จำนวนวันที่เตรียมตัวสอบ) – 0.107 (ถิ่นที่ตั้งและชุมชนที่อยู่อาศัย) + 0.122 (รายได้จากอาชีพหลัก) + 0.095 (การศึกษาสูงสุดก่อนเข้าศึกษา) และสมการนี้สามารถพยากรณ์ได้ใกล้เคียงความจริง 49.18 % ตามเกณฑ์ค่าเฉลี่ย 3. เมื่อวิเคราะห์เฉพาะกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ำ พบว่า ตัวแปร ที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสูงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 มีตัวแปร 4 ตัวคือ การอ่านเอกสารการสอน ภาค ตำแหน่งงานที่ปฏิบัติอยู่ และการดูรายการโทรทัศน์และตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มต่ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 มีตัวแปร 9 ตัว คือ ภาค ตำแหน่งงานที่ปฏิบัติอยู่ ศาสนา อายุ จำนวนปีที่ทำงานความต้องการศึกษาต่อหรือไม่ศึกษาต่อ การเคยหรือไม่เคยเข้ารับการอบรมจากสถาบันการศึกษาวิชาชีพครู การอ่านเอกสารการสอน และวิธีเข้ารับการสอนเสริม สมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรูปคะแนนมาตรฐานกลุ่มสูง คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน = 0.245 (การอ่านเอกสารการสอน) สมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรูปคะแนนมาตรฐานกลุ่มต่ำ คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน = 0.192 (ความต้องการศึกษาต่อหรือไม่ศึกษาต่อ) – 0.224 (ภาค) + 0.192 (ศาสนา) – 0.202 (อายุ) + 0.187 (การอ่านเอกสารการสอน) The purpose of the study aim to seek significant variables related to learning achievement of bachelor degrees' students, education studies area, 2 year program Sukhothai Thammathirat Open University during the academic year 1980. 740 samples are randomly selected from the population proportionate to all geographical regions. These subjects were sent the constructed questionnaires covering 57 variables in the aspect of social, economic, demographic, background and study .methods. The research findings were as follows: 1. Seven significant variables related to learning achievement at the .05 level are geographical region, age, residential location, further study motives, reading textbook, supplementary tutorial method recieved and number of examination' preparation days. 2. The Multiple regression equation for predicting learning achievement are in form of standard score as. learning achievement = 0.276 (.reading textbook) - 0.235 (age) + 0.138 (geographical region) + 0.115 (number of examination preparation days) 0.107 (residential location) + 0.122 (income from major occupation) + 0.095 (the highest educational level before admittance) and this regression equation can predict 49.18 % correetly with respect to criterion. 3. The higher and lower learning achievement groups were investigated. Four significant variables of high learning achievement group at the .01 level are geographical region, working position, reading textbook and method of watching television Program: on the other hand 9 variables of low learning achievement group at the .01 level are geographical region, working position, religion, age, working years, further study motives, attending teacher vocational training, reading textbook and supplementary tutorial method recieved. The regression rquation for predicting learning achievement of high and low group are in form of standard score as a) learning achievement = 0.245 (reading textbook) b) learning achievement = 0.192 (further study motives) - 0.224 (geographical region) + 0.192 (religion) - 0.202 (age) + 0.187 (reading textbook) 2012-03-14T15:09:47Z 2012-03-14T15:09:47Z 2527 Thesis 9745631345 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17934 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 413810 bytes 348365 bytes 412500 bytes 535438 bytes 401704 bytes 422888 bytes 833036 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |