ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร

วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: หฤทัย อาจปรุ, 2519-
Other Authors: พวงเพ็ญ ชุณหปราน
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1813
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1813
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic นักศึกษาพยาบาล
พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
มติมหาชน
ประชาสังคม
ภาวะผู้นำ
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง
spellingShingle นักศึกษาพยาบาล
พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
มติมหาชน
ประชาสังคม
ภาวะผู้นำ
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง
หฤทัย อาจปรุ, 2519-
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
author2 พวงเพ็ญ ชุณหปราน
author_facet พวงเพ็ญ ชุณหปราน
หฤทัย อาจปรุ, 2519-
format Theses and Dissertations
author หฤทัย อาจปรุ, 2519-
author_sort หฤทัย อาจปรุ, 2519-
title ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1813
_version_ 1681408716651364352
spelling th-cuir.18132007-12-27T02:00:52Z ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร Relationships between personal factors, leadership, lifestyle, self-directed learning ability, and public consciousness of nursing students, Bangkok Metropolis หฤทัย อาจปรุ, 2519- พวงเพ็ญ ชุณหปราน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ นักศึกษาพยาบาล พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน มติมหาชน ประชาสังคม ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 ศึกษาการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง กับการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล และศึกษาปัจจัยที่สามารถพยากรณ์การมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 สถาบันการศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ จำนวน 510 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามภาวะผู้นำ แบบสอบถามรูปแบบการดำเนินชีวิต แบบสอบถามความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และแบบสอบถามการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และความเที่ยงโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach's alpha coefficient) เท่ากับ .94, .89, .88 และ .90 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปอร์เซ็นต์ไทล์ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร เท่ากับ 197.22 คะแนน คิดเป็น 76.90% ของคะแนนเต็ม (คะแนนเต็ม = 255 คะแนน) ซึ่งอยู่ตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 52 และได้เสนอเกณฑ์ค่าเฉลี่ยและค่าคะแนน ณ ตำแหน่งเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10-100 เพื่อนำไปใช้เป็นเกณฑ์ในการวิจัยครั้งต่อไป 2. ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิตกลุ่มวิชาการ กลุ่มวิชาชีพ กลุ่มก้าวหน้า กลุ่มกิจกรรม กลุ่มสังคม ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการมีจิตสำนึกสาธารณะ ของนักศึกษาพยาบาล สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ภูมิลำเนาในกรรุงเทพมหานคร และรูปแบบการดำเนินชีวิตกลุ่มเก็บตัว มีความสัมพันธ์ทางลบกับการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ การมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาลได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 มีความสำคัญตามลำดับดังนี้ ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิตกลุ่มก้าวหน้า รูปแบบการดำเนินชีวิตกลุ่มกิจกรรม และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยร่วมกันพยากรณ์ได้ร้อยละ 45.60 (R2 = .456) To study public consciousness of nursing students, Bangkok Metropolis, to explore the relationships between personal factors, leadership, lifestyle, self-directed learning ability, and public consciousness of nursing students and to investigate the variables that could be able to predict public consciousness of nursing students. The subjects consisted of 510 nursing students selected by stratified random sampling. Research instruments were public consciousness, leadership, lifestyle and self-directed learning ability questionnaires which were tested for content validity by panel of experts. Alpha Cronbach' coefficient reliability were .94, .89, .88 and .90 respectively. Statistical methods used to analyze data included mean, standard deviation, percentile, Pearson's product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. Major findings were as follow 1. Mean score of public consciousness of nursing students, Bangkok Metropolis was 197.22 (total scores = 255), accounted for 76.90% of the total score, and mean score of public consciousness was at percentile 52. This research presented the criteria of mean and score at percentile 10-100 for using in the future research. 2. Leadership, academic lifestyle, vocational lifestyle, non-conformist lifestyle, activist lifestyle, social lifestyle, self-directed learning ability, and being under the jurisdiction of the Royal Thai Police were positively significantly related to public consciousness of nursing students. Being under the jurisdiction of Ministry of University Affairs, having hometown in Bangkok and individual lifestyle were negatively related to public consciousness, at the .05 level. 3. Factors significantly predicted public consciousness of nursing students were leadership, non-conformist lifestyle, activist lifestyle and self-directed learning ability, at the .05 level. These predictors accounted for 45.60% of the variance. (R2 = .456). 2006-08-16T01:57:52Z 2006-08-16T01:57:52Z 2544 Thesis 9740316875 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1813 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1295422 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย