การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18194 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.18194 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
โครงการก่อสร้างถนนชนบทโดยใช้แรงงานเป็นหลัก การวิเคราะห์และประเมินโครงการ ต้นทุน ถนน -- การออกแบบและการสร้าง -- ไทย -- ลำพูน อัตราผลตอบแทน -- ไทย ถนนบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน |
spellingShingle |
โครงการก่อสร้างถนนชนบทโดยใช้แรงงานเป็นหลัก การวิเคราะห์และประเมินโครงการ ต้นทุน ถนน -- การออกแบบและการสร้าง -- ไทย -- ลำพูน อัตราผลตอบแทน -- ไทย ถนนบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน จิตติวัฒน์ กันธมาลา การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 |
author2 |
สุมาลี ปิตยานนท์ |
author_facet |
สุมาลี ปิตยานนท์ จิตติวัฒน์ กันธมาลา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
จิตติวัฒน์ กันธมาลา |
author_sort |
จิตติวัฒน์ กันธมาลา |
title |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
title_short |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
title_full |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
title_sort |
การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18194 |
_version_ |
1681409029240258560 |
spelling |
th-cuir.181942012-04-22T06:05:25Z การวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ของโครงการสร้างถนน โดยเน้นหนักการใช้แรงงานคน : กรณีศึกษาโครงการสร้างถนนชนบทสายบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน The cost-benefit analysis of labour-based construction method of low-volume road project : case study of Ban-Salaeng-Ban-Pamwua-Ban Sribuaban Muang district Lamphun province จิตติวัฒน์ กันธมาลา สุมาลี ปิตยานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย โครงการก่อสร้างถนนชนบทโดยใช้แรงงานเป็นหลัก การวิเคราะห์และประเมินโครงการ ต้นทุน ถนน -- การออกแบบและการสร้าง -- ไทย -- ลำพูน อัตราผลตอบแทน -- ไทย ถนนบ้านสะแล่ง-ผามวัว-ศรีบัวบาน วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 ประเทศไทยประเทศหนึ่งที่กำลังพัฒนาและมีกำลังแรงงานเหลือเฟือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานไร้ฝีมือที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งมักจะทำให้เกิดภาวะการว่างงานแอบแฝง และเกิดการหลั่งไหลขอแรงงานเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมอยู่เสมอ ในขณะเดียวกัน การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมก็ยังมีไม่มากพอที่จะรองรับแรงงานเหล่านี้ได้ ปัญหาของแรงงานจึงมีมากขึ้นเรื่อยๆ เช่นปัญหาค่าแรงงานต่ำ และปัญหาการทำงานมากชั่วโมงเกินไป ทางรัฐบาลมิได้นิ่งนอนใจกับปัญหาเหล่านี้ และได้พยายามหามาตรการต่างๆ เพื่อใช้แก้ไข และยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของแรงงานเหล่านี้อยู่เสมอ โครงการหนึ่งซึ่งถูกหยิบยกขึ้นมาใช้ก็คือ โครงการสร้างถนนชนบทโดยใช้แรงงานเป็นหลักแทนการใช้เครื่องจักกลเป็นหลัก ภายใต้การควบคุมและดำเนินงานของกรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย เนื่องจากการสร้างถนนชนบท โดยวิธีใช้แรงงานเป็นหลักนี้เป็นเทคโนโลยีแนวใหม่ดังนั้น คุณภาพงานและผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการได้หรือไม่ จึงเป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึง การศึกษาผลกระทบของโครงการในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จะเป็นการวิเคราะห์ตามแนวทิศทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับเรื่อง การวิเคราะห์ทางต้นทุน ผลได้ โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์คือ 1. การปรับค่าของเวลาให้อยู่ในรูปมูลค่าปัจจุบัน (Present Value) 2. การเลือกใช้อัตราลด (Discount Rate) 3.การเลือกใช้ค่าอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (Internal Rate of Return) 4.การเปรียบเทียบอัตราส่วนผลได้ต่อต้นทุน (Benefit-Cost Ratio) 5.การเปรียบเทียบผลตอบแทนของโครงการกับโครงการอื่นฯ (Project Comparison) 6.การคิดอิทธิพลของสภาวะเงินเฟ้อทางเศรษฐ์กิจ (Inflation Factor)ผลของการศึกษาในวิทยานิพนธ์นี้ สรุปได้ว่า ณ อัตราลดใดๆ โครงการสร้างถนนชนบทโดยใช้แรงงานเป็นหลักนี้จะก่อให้เกิดผลได้มากกว่าผลเสียและสามรถยอมรับได้ตราบใดที่จุดประสงค์ของโครงการมีขึ้นเพื่อ 1.ยกระดับการกระจายรายได้แรงงานของชนบท 2.ยกระดับว่าจ้างแรงงานในชนบท Thailand is one of the developing countries that has excess supply of unskilled labour especially in agricultural sector. This has caused disguised unemployment and influx of the agricultural labour into industrial sector. Since industries have not yet been developed well enough to absorb those migrants, unemployment increases as well as low wages and overwork prevail. This leads to lowered standard of living of those workers. The government authorities have never ignored the above mentioned problem and have enthusiastically tried several measures in order to improve the workers' lives. One of the measures, which was carried out by the Department of Public Works, Ministry of Interior, is the "Labour-Based Construction Method of Rural Road" project. Since the method of constructing rural road is based on a new technological renovation, it is worth considering if the quality, quantity and also effects of the measure are acceptable. The study of the project's impacts, in this thesis, embraces economic concept of cost-benefit analysis. By using the following economic tools: 1. Present Value. 2. Discount rate. 3. Internal Rate of Return. 4. Benefit-Cost Ratio. 5. Related Project Comparison. 6. Inflation Effects The result of the study indicates that at any discount rate, the project's benefits are much greater than It’s costs and this can be accepted as long as it serves these objectives; 1. To improve the standard of living of agricultural laboring masses. 2. To improve rural employment. 2012-03-19T14:44:11Z 2012-03-19T14:44:11Z 2530 Thesis 9745676187 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18194 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 318159 bytes 423608 bytes 316481 bytes 335179 bytes 503601 bytes 451251 bytes 267644 bytes 452844 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf ลำพูน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |