ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ
Other Authors: ดวงเดือน อ่อนน่วม
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18291
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.18291
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic นักเรียนประถมศึกษา -- สถานภาพทางเศรษฐกิและสังคม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
spellingShingle นักเรียนประถมศึกษา -- สถานภาพทางเศรษฐกิและสังคม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ
ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529
author2 ดวงเดือน อ่อนน่วม
author_facet ดวงเดือน อ่อนน่วม
นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ
format Theses and Dissertations
author นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ
author_sort นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ
title ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
title_short ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
title_full ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
title_fullStr ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
title_full_unstemmed ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
title_sort ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18291
_version_ 1681413635975413760
spelling th-cuir.182912012-06-23T06:31:10Z ลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง Characteristics of prathom suksa six students with high learning achievement in methematics นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ ดวงเดือน อ่อนน่วม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย นักเรียนประถมศึกษา -- สถานภาพทางเศรษฐกิและสังคม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ในด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้สึกนึกคิด สังคม และสภาพแวดล้อมทางครอบครัว วิธีดำเนินการวิจัย ตัวอย่างประชากรประกอบด้วย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ซึ่งเรียนอยู่ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 57 คน ซึ่งได้รับการคัดเลือกมา ครูประจำชั้นจำนวน 41 คน ครูสอนคณิตศาสตร์จำนวน 35 คน และบิดามารดาหรือผู้ปกครองของนักเรียนดังกล่าว จำนวน 57 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มทักษะ(คณิตศาสตร์) ของสำนักงานทดสอบทางการศึกษา กรมวิชาการ แบบทดสอบสมรรถภาพทางสมองแมทริชีสก้าวหน้ามาตรฐานของราเวน แบบบันทึกข้อมูลจากเอกสารของโรงเรียน แบบสัมภาษณ์ 4 ชุด ได้แก่ แบบสัมภาษณ์นักเรียน แบบสัมภาษณ์ครูประจำชั้น แบบสัมภาษณ์ครูสอนคณิตศาสตร์ และแบบสัมภาษณ์บิดามารดาหรือผู้ปกครองของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1.ลักษณะทางร่างกาย นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงเป็นชายมากกว่าหญิง คือเป็นชายร้อยละ 65 และเป็นหญิงร้อยละ 35 มีอายุกระจายตั้งแต่ 10 - 12 ปี ส่วนใหญ่มีอายุ 11 ปี ซึ่งมีอยู่ร้อยละ 68 ส่วนใหญ่คือร้อยละ 93 และ 95 มารดามีสุขภาพสมบูรณ์และบำรุงรักษาสุขภาพขณะตั้งครรภ์นักเรียน นักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 72 มีน้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 3,000 กรัม ซึ่งเป็นน้ำหนักตามทฤษฎีของเด็กไทยแรกเกิด ส่วนใหญ่ร้อยละ 91 สามารถพูดได้และเดินได้ก่อนอายุ 18 เดือน ซึ่งเป็นอายุที่พูดได้และเดินได้ตามทฤษฎีพัฒนาการของเด็กไทย ในวัยเด็กมีสุขภาพสมบูรณ์ซึ่งมีถึงร้อยละ 91 ในปัจจุบันมีสุขภาพสมบูรณ์ ซึ่งมีถึงร้อยละ 95 มีความเจริญเติบโตด้านน้ำหนักและส่วนสูงมากกว่าเด็กทั่วไป 2.ลักษณะทางสติปัญญา นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง มีสมรรถภาพทางสมอง 2 ระดับ คือ ร้อยละ 86 มีสมรรถภาพทางสมองระดับฉลาดมาก และร้อยละ 14 มีสมรรถภาพทางสมองระดับฉลาด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่ม ประสบการณ์โดยเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 82 ของคะแนนเต็ม ส่วนใหญ่ร้อยละ 98 มีความจำดี ร้อยละ 96 และ 91 มีความสามารถในการอ่านและการพูดดี ร้อยละ 49 สามารถคิดเลขได้รวดเร็วถูกต้องแม่นยำ ร้อยละ 56 สามารถสรุปกฎเกณฑ์หลักการเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และสามารถประยุกต์สิ่งที่ได้เรียนรู้มาใช้ในบทเรียนใหม่ ได้ดี ร้อยละ 49 สามารถวิเคราะห์ปัญหาคณิตศาสตร์ได้ดี ในวัยเด็กมักตั้งคำถามแปลก ๆ และซักถามปัญหายาก ๆ ซึ่งมีถึงร้อยละ 80 และ 53 ตามลำดับ มีความสนใจเกี่ยวกับตัวเลขและช่างสังเกต ซึ่งมีถึงร้อยละ 44 และ 40 ตามลำดับ 3.ลักษณะทางความรู้สึกนึกคิด นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูง ทุกคนเห็นว่าคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีประโยชน์ต่อชีวิตกระจำวันมาก ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์มากที่สุด และร้อยละ 39 ชอบเรียนวิชากลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพน้อยที่สุด ส่วนใหญ่ร้อยละ 53 ชอบกีฬาปานกลาง กีฬาที่ชอบเล่น คือ วิ่ง และว่ายน้ำ กิจกรรมยามว่างของนักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 74 ชอบอ่านหนังสือ อาชีพที่นักเรียนสนใจมีถึง 9 อาชีพ ในจำนวนนี้เลือกอาชีพแพทย์สูงสุด ซึ่งมีถึงร้อยละ 56 4.ลักษณะทางสังคม นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงส่วนใหญ่คบเพื่อนรุ่นเดียวกันซึ่งมีถึงร้อยละ 60 รองลงมาร้อยละ 32 คบเพื่อนที่โตกว่า เพื่อนที่นักเรียนชอบมักเป็นคนเรียนเก่งมีผลการเรียนในระดับเดียวกับตน ซึ่งมีอยู่ร้อยละ 46 เพื่อนที่นักเรียนไม่ชอบส่วนใหญ่ร้อยละ 61 และ 49 ไม่ชอบเพื่อนที่เกเรชอบแกล้งหรือรังแกผู้อื่น และเพื่อนที่เห็นแก่ตัวเอาเปรียบผู้อื่นไม่ให้ความร่วมมือ และส่วนใหญ่ร้อยละ 79 ชอบทำงานร่วมกับเพื่อน ส่วนใหญ่มีการปรับตัวได้ดีทั้งต่อบุคคลแวดล้อม และสภาวการณ์ 5.สภาพแวดล้อมทางครอบครัว บิดามารดามีหลายเชื้อชาติ ส่วนใหญ่มีเชื้อชาติจีน ซึ่งมีถึงร้อยละ 81 บิดามารดามีการศึกษากระจายตั้งแต่ไม่ได้เรียนหนังสือจนจบปริญญาเอก อาชีพของบิดามารดากระจายอยู่หลายสาขา ครอบครัวมีรายได้กระจายมากตั้งแต่ 5,000 บาท ถึง 80,000 บาทต่อเดือน นักเรียนมีพี่น้องตั้งแต่ 1 คน ถึง 10 คน ส่วนใหญ่ร้อยละ 30 และ 28 มีพี่น้องจำนวน 3 คน และ 2 คน ตามลำดับ ร้อยละ 42 เป็นบุตรคนแรก บิดามารดาให้การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย บิดามารดาส่วนใหญ่ร้อยละ 58 รู้สึกชอบคณิตศาสตร์มาก และร้อยละ 44 ส่งเสริมการเรียนคณิตศาสตร์แก่บุตรมาก The purpose of this study was to investigate characteristics of Prathom Suksa Six students which had high learning achievement in mathematics in physical, mental, affective, social and home environment. Procedures Samples were consisted of 57 selected high learning achievement Prathom Suksa Six students in schools under the jurisdiction of the office of the Bangkok Primary Education, and 41 classroom teachers, 31 mathematics teachers, and 57 parents of those selected students. Research instruments were mathematics proficiency test designed by the Office of Education Assessment and Testing Service, Department of Curriculum and Instructional Development; Raven’s Standard Progressive Matrices, data sheet of school records; four types of interviewing forms: one for students, the others for classroom teachers, mathematics teachers and parents respectively. The data were analyzed by percentage, mean, and standard deviation. Findings: 1. Physical characteristics. The students with high learning achievement in mathematics were boys more than girls; 65 per cent were boys and 35 per cent were girls. Ages distributed from 10 to 12, the highest per cent (68%) was at 11 years of age. Ninety-three and ninety-five per cent of their mothers were in good health and took care of themselves during pregnancy. Mainly 72 per cent of students had body weight at birth more than theoretical weight of birth of Thai infants which was 3,000 grams. Mainly 91 per cent of students could talk and walk earlier than theoretical age of walking and talking of Thai children which was 18 months. The percentages of healthy students in childhood period and at present time were 91 and 95 respectively. 2. Mental characteristics. The mental abilities of the students could be classified into 2 levels: “intellectually superior” and “definitely above the average”. Percentage of the first level was 86 and the second level was 14. Learning achievement in every area was higher than 82 per cent. Mainly 98 per cent had good memory. The percentages of students who had high reading and speaking abilities were 96 and 91 respectively. Forty-nine per cent were able to compute accurately and fast. Fifty-six per cent were able to generalize mathematical principles and apply their knowledge. The percentages of students who always had queer and difficult questions were 60 and 53 respectively. Forty-four per cent were interested in numbers and 40 per cent were observative. 3. Affective characteristics. All students mentioned that mathematics was very useful to their daily-living. Seventy-five per cent of the students preferred to study mathematics most and 39 per cent of the students preferred to study the area of work oriented experiences least. Mainly, 53 per cent of the students preferred sports at medium level and their favorite sports were running and swimming. . Mainly, 74 per cent of the students were very interested in reading. The students were interested in 9 occupations. Among these occupations, 56 per cent of the students were interested in being physicians. 4. Social characteristics. Sixty per cent of students liked friend who had the same age. Thirty-two per cent of students liked older friends. Forty-six per cent of students preferred smart friends who had the same achievement level. Mainly, 61 and 49 per cent of students disliked nuisance, and selfish friends, respectively. Seventy-nine per cent of students preferred to work with their peers. Most of students were able to adjust themselves to people and situations. 5. Home environment. Parents of students had various origins. Eighty-one per cent of them were Chinese origins. Their parents’ levels of education distributed from no education up to doctorate degree. Parents’ occupations were various. Family incomes distributed from 5,000 to 80,000 baht per-month. Students’ siblings distributed from 1 to 10. Thirty and twenty-eight per cent of sampling families had three and two siblings respectively. Forty-two per cent of students were first-born children. Their parents used democratic way of taking care of their children. Fifty-eight per cent of parents liked to study mathematics. Forty-four per cent of them gave support to their children in mathematics study. 2012-03-20T23:06:21Z 2012-03-20T23:06:21Z 2529 Thesis 9745665185 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18291 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 346686 bytes 317094 bytes 578817 bytes 293513 bytes 506261 bytes 549858 bytes 502798 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย