การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ปิยธิดา อินทร์รักษ์
Other Authors: สุกรี สินธุภิญโญ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18347
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.18347
record_format dspace
spelling th-cuir.183472012-07-24T04:41:02Z การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย Applying latent semantic analysis to classification of emotions in Thai text ปิยธิดา อินทร์รักษ์ สุกรี สินธุภิญโญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาษาไทย -- อรรถศาสตร์ ภาษาไทย -- คำกริยาวิเศษณ์ การวิเคราะห์กลุ่มแฝง วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ในยุคที่การติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลประเภทตัวอักษรก็ถูกผลิตขึ้นมาเป็นจำนวนมากเช่นกัน ข้อมูลเหล่านี้สามารถถูกถ่ายทอดออกมาและจำแนกหมวดหมู่ของตัวอักษรได้ การจำแนกด้านอารมณ์ก็เป็นอีกหัวข้อที่น่าสนใจในปัจจุบัน แต่การจำแนกด้านอารมณ์จากตัวอักษรภาษาไทยนั้นยังไม่มีประสิทธิภาพที่ดีพอ หัวข้อวิจัยนี้ได้แบ่งการจำแนกประเภทอารมณ์จากข้อความสั้นภาษาไทยออกมาเป็น 6 อารมณ์สากลพื้นฐาน ได้แก่ โกรธ ขยะแขยง กลัว มีความสุข เศร้า และประหลาดใจ ซึ่งอ้างอิงจากข้อมูลการวิจัย ในการวิจัยนี้ได้เปรียบเทียบผลลัพธ์ของ 2 ตัวแบบที่สร้างมาจากประโยครูปแบบต่างๆ และประยุกต์ใช้กับ 3 ระเบียบวิธีได้แก่นาอีฟเบส์ (Naive Bayes), เครื่องจักรเวกเตอร์สนับสนุน (Support Vector Machine, SVM) และต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) โดยตัวแบบที่หนึ่งใช้การจำแนกโดยการวิเคราะห์ความหมายแฝงของคำเดี่ยว ส่วนตัวแบบที่สองใช้การประยุกต์การวิเคราะห์ความหมายแฝงของคำคู่ที่มักปรากฏคู่กันร่วมกับระนาบความหมายของคำเดี่ยว ผลการเปรียบเทียบผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่า ตัวแบบที่สองให้ความถูกต้องได้สูงกว่าตัวแบบที่หนึ่ง อ้างอิงจากระเบียบวิธีการจำแนกของนาอีฟเบส์ที่ให้ผลสูงกว่าระเบียบวิธีการอื่น With a rapid growth of the internet communication, many types of text are produced. They can convey the meanings that can contribute to text categorization. Moreover, emotion classification becomes more interesting, but emotion classification in Thai text is still not able to be correctly classified. Thus, this paper proposes a novel approach that takes advantage of bi-words occurrence to classify emotion hidden in a short sentence. In this paper, we classify Thai text into six basic universal emotions including anger, disgust, fear, happiness, sadness, and surprise based on Latent Semantic Analysis (LSA) approach. We compared the results between two models which construct features from the sentences and applied both models to three classification methods, i.e. Naive Bayes, SVM, and Decision Tree. The first feature model uses only single word occurrence in the classification. The second model uses single word combined with bi-words occurrence in the classification. The results show that the second model yielded higher accuracy than the first model based on the Naive Bayes classification method. 2012-03-21T14:56:28Z 2012-03-21T14:56:28Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18347 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1949477 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ภาษาไทย -- อรรถศาสตร์
ภาษาไทย -- คำกริยาวิเศษณ์
การวิเคราะห์กลุ่มแฝง
spellingShingle ภาษาไทย -- อรรถศาสตร์
ภาษาไทย -- คำกริยาวิเศษณ์
การวิเคราะห์กลุ่มแฝง
ปิยธิดา อินทร์รักษ์
การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 สุกรี สินธุภิญโญ
author_facet สุกรี สินธุภิญโญ
ปิยธิดา อินทร์รักษ์
format Theses and Dissertations
author ปิยธิดา อินทร์รักษ์
author_sort ปิยธิดา อินทร์รักษ์
title การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
title_short การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
title_full การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
title_fullStr การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
title_full_unstemmed การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
title_sort การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความหมายแฝงกับการจำแนกประเภทอารมณ์ในข้อความภาษาไทย
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18347
_version_ 1681408794238648320