การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เรณุมาศ รักษาแก้ว
Other Authors: สำเรียง เมฆเกรียงไกร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18397
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.18397
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
ธนาคารพาณิชย์ -- การกำกับดูแล -- ไทย
ธนาคารพาณิชย์ -- การประกอบธุรกิจ
ธนาคารพาณิชย์ -- องค์การระหว่างประเทศ
spellingShingle ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย
ธนาคารพาณิชย์ -- การกำกับดูแล -- ไทย
ธนาคารพาณิชย์ -- การประกอบธุรกิจ
ธนาคารพาณิชย์ -- องค์การระหว่างประเทศ
เรณุมาศ รักษาแก้ว
การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 สำเรียง เมฆเกรียงไกร
author_facet สำเรียง เมฆเกรียงไกร
เรณุมาศ รักษาแก้ว
format Theses and Dissertations
author เรณุมาศ รักษาแก้ว
author_sort เรณุมาศ รักษาแก้ว
title การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
title_short การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
title_full การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
title_fullStr การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
title_full_unstemmed การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
title_sort การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18397
_version_ 1681410569350938624
spelling th-cuir.183972012-03-22T15:32:42Z การนำมาตรการกำกับแบบรวมกลุ่มของต่างประเทศมาใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีธนาคารพาณิชย์ The transfer of foreign consolidated supervision into Thai system : a comparative study of application in commercial bank เรณุมาศ รักษาแก้ว สำเรียง เมฆเกรียงไกร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย ธนาคารพาณิชย์ -- การกำกับดูแล -- ไทย ธนาคารพาณิชย์ -- การประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ -- องค์การระหว่างประเทศ วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ในระบบเศรษฐกิจปัจจุบัน กระแสโลกาภิวัฒน์และอิทธิพลของตลาด ต่างผลักดันให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกิจที่หลากหลายในลักษณะของ Universal Banking ทั้งที่ดำเนินการโดยธนาคารพาณิชย์เองหรือโดยผ่านบริษัทในเครือ ซึ่งแม้ว่าการขยายขอบเขตธุรกิจดังกล่าวจะช่วยเพิ่มผลตอบแทนแก่ธนาคารให้มากขึ้นกว่าเดิม แต่ก็เพิ่มความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ระบบเศรษฐกิจได้ หากไม่ใช้ความระมัดระวังอย่างเพียงพอ การกำกับแบบรวมกลุ่มจึงเป็นแนวทางหนึ่งซึ่งจะช่วยให้ธนาคารพาณิชย์ประกอบธุรกิจ ในขอบเขตที่กว้างและหลากหลาย โดยไม่ก่อให้เกิดผลร้ายต่อความมั่นคงของระบบธนาคารพาณิชย์ได้ อย่างไรก็ตาม แนวทางการกำกับแบบรวมกลุ่มก็เป็นเพียงเครื่องมือชิ้นหนึ่ง ซึ่งองค์การระหว่างประเทศคิดค้นขึ้น และแนะนำให้หน่วยงานกำกับดูแลสถาบันการเงินในประเทศต่างๆ นำไปปฏิบัติตาม โดยที่แต่ละประเทศมีเสรีภาพในการตัดสินใจว่าจะรับเอาแนวทางดังกล่าวมาใช้ในประเทศตนหรือไม่ มากน้อยเพียงใด วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมุ่งที่จะศึกษาถึงแนวคิดและทฤษฎีของการกำกับแบบรวมกลุ่ม โดยศึกษาเปรียบเทียบจากหลักเกณฑ์ของ BIS, Joint Forum และหลักเกณฑ์ที่ประเทศต่างๆ เช่น อังกฤษ และอเมริกา บัญญัติขึ้น ตลอดจน การนำหลักการกำกับแบบรวมกลุ่มมาใช้ในประเทศไทย เพื่อเป็นแนวทางที่จะพัฒนามาตรการกำกับดูแลความมั่นคงของธนาคารพาณิชย์และกลุ่มธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ตามหลักการกำกับแบบรวมกลุ่มของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่า หลักเกณฑ์การกำกับแบบรวมกลุ่มของประเทศไทยนั้น มีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์สากลขององค์การระหว่างประเทศ และมีสาระสำคัญที่ค่อนข้างจะตรงกันกับประเทศอังกฤษและอเมริกา จะต่างกันก็เพียงเทคนิคที่ใช้ หรือในส่วนของรายละเอียด ซึ่งแต่ละประเทศจะปรับหลักเกณฑ์ให้เหมาะสมกับระบบการเงินของตน อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การกำกับดูแลธนาคารพาณิชย์และกลุ่มธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงเสนอแนวคิดในการสร้างความชัดเจนในการใช้อำนาจแทรกแซงกิจการธนาคารพาณิชย์และกลุ่มธุรกิจทางการเงินของธนาคารพาณิชย์เพื่อขจัดปัญหาที่จะนำไปสู่วิกฤตทางเศรษฐกิจในอนาคต In the current economic system, Globalization and influence of markets drive commercial banks to run a business in Universal Banking type which is both operated by the bank itself or through its subsidiaries. Although expansion of this business may increase more returns to the bank, it may increase the risk of causing a serious damage to the economy if the adequate discreetness is not used. Therefore, consolidated supervision is one of the approaches that can facilitate the bank to manage broader and various business without causing adverse effects on the stability of the bank system. However, consolidated supervision is just only a tool that created by international organization recommend financial institutions regulator in each country to follow. Each country is free to decide whether to adopt this approach. This thesis aims to study the concept and theory of the consolidated supervision, by using a comparative study of BIS rules, Joint Forum and rules in some countries such as UK and U.S. Moreover, study how to use the consolidated supervision in Thailand in order to use as a guideline to develop security measures for the banks and their business under Thai consolidated supervision and make it more effective. The study found that the consolidated supervision in Thailand is consistent with the rules of international organizations and its major idea is relatively matches with England and United State. The only difference is the technique or the detail that each country adjust to suit their financial systems. Moreover, in order to improve the supervision of commercial banks and their groups in Thailand and eliminate problems that may lead to economic crisis in the future, this thesis propose the idea of creating and making clear of power using in intervening the bank affairs and bank financial group. 2012-03-22T15:32:42Z 2012-03-22T15:32:42Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18397 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2498163 bytes application/pdf application/pdf ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย