การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อัมทิกา เมืองวงษ์
Other Authors: สุชาดา จันทร์ประทีป
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18563
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.18563
record_format dspace
spelling th-cuir.185632013-08-19T04:35:37Z การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล Production of polyhydroxyalkanoates using organic wastes from biodiesel production process อัมทิกา เมืองวงษ์ สุชาดา จันทร์ประทีป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ โพลิเบตาไฮดรอกซีอัลคาโนเอต โพลิเอสเตอร์ โพลิเมอร์ชีวภาพ ขยะอินทรีย์ เชื้อเพลิงไบโอดีเซล Poly-beta-hydroxyalkanoates Polyesters Biopolymers Organic wastes Biodiesel fuels วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 คัดแยกแบคทีเรียจากดินปนเปื้อนน้ำมันพืชใช้แล้ว เพื่อใช้ในการผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอต โดยใช้ของเสียอินทรีย์ที่มาจากการผลิตไบโอดีเซล ซึ่งผลิตมาจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้วเป็นแหล่งคาร์บอน กลุ่มแบคทีเรียที่มีความสามารถในการเจริญบนอาหาร ที่มีของเสียอินทรีย์ถูกทำให้อุดม แบคทีเรียบริสุทธิ์จำนวนสี่สายพันธุ์ได้รับการคัดเลือกจากการย้อมแกรนูล PHA โดยการย้อมเปรียบเทียบด้วยวิธีการย้อมไนล์ บลู เอ และซูดาน แบล็ค บี ผลการวิเคราะห์ยีนบริเวณ 16S rRNA ของแบคทีเรียเหล่านี้แสดงให้เห็นว่า แบคทีเรียสายพันธุ์ ASC1 มีความคล้ายคลึงกับ Acinetobacter baumannii RM4 94.89% ตั้งชื่อเป็น Acinetobacter sp. ASC1 แบคทีเรียสายพันธุ์ ASC2 มีความคล้ายคลึงกับ Pseudomonas mendocina DS0601-FX 99.18% ตั้งชื่อเป็น Pseudomonas sp. ASC2 แบคทีเรียสายพันธุ์ ASC3 มีความคล้ายคลึงกับ Enterobacter sp. BSRA2 99.24% ตั้งชื่อเป็น Enterobacter sp. ASC3 และแบคทีเรียสายพันธุ์ ASC4 มีความคล้ายคลึงกับ Bacillus subtilis IAM 12118T 98.40% ตั้งชื่อเป็น Bacillus sp. ASC4 ผลกระทบของปริมาณคาร์บอนอินทรีย์และอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจนได้รับการศึกษาในระดับขวดเขย่า ผลการวิเคราะห์ด้วยก๊าซโครมาโตรกราฟฟีร่วมกับ ¹H-NMR, ¹³C-NMR, และ 2D-¹H-COSY แสดงให้เห็นว่าแบคทีเรียทั้งสี่สายพันธุ์ผลิต PHAs ที่ประกอบด้วย 3-ไฮดรอกซีออกตะโนเอต (3-hydroxyoctanoate; 3HO) และ 3-ไฮดรอกซีเดคะโนเอต (3-hydroxydecanoate; 3HD) จากของเสียอินทรีย์ โดย Pseudomonas sp. สายพันธุ์ ASC2 มีการสะสม PHAs สูงสุด 61.80% โดยน้ำหนัก และมีองค์ประกอบเป็น 3HO 14.69 โมลเปอร์เซ็นต์ และ 3HD 85.31 โมลเปอร์เซ็นต์ และได้ชีวมวลสุทธิ 8.51 กรัมต่อลิตร ที่ 24 ชั่วโมง น้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยโดยน้ำหนักของ PHAs ผลิตโดย Acinetobacter sp. ASC1 Pseudomonas sp. ASC2 Enterobacter sp. ASC3 และ Bacillus sp. ASC4 เท่ากับ 1,222 525 752 และ 1,433 ดาลตัน ตามลำดับ To screen newly isolated bacteria from soils contaminated with cooking oil for efficient production of polyhydroxyalkanoates (PHAs) from waste glycerol, a by product from biodiesel industry where the substrate was derived from used-cooking oil. The consortium of bacteria capable of growing in medium containing waste glycerol was enriched. Four axenic cultures were obtained based on comparative staining of PHAs granules using Nile blue A staining and Sudan Black B staining methods. The 16S rRNA gene analysis of these bacteria showed that the strain ASC1 exhibited 94.89% similarity to Acinetobacter baumannii RM4 and was named Acinetobacter sp. ASC1. The strain ASC2 exhibited 99.18% similarity to Pseudomonas mendocina DS0601-FX and was named Pseudomonas sp. ASC2. The strain ASC3 exhibited 99.24% similarity of Enterobacter sp. BSRA2 and was named Enterobacter sp. ASC3. The strain ASC4 exhibited 98.40% similarity of Bacillus subtilis IAM 12118T and was named Bacillus sp. ASC4. Effect of total organic carbon and mole ratio of carbon to nitrogen were investigated in shake flask cultivation. The GC analysis, ¹H-NMR, ¹³C-NMR, and 2D-¹H-COSY spectroscopy results were demonstrated that all isolated bacteria produced PHAs consisting of 3-hydroxyoctanoate (3HO) and 3-hydroxydecanoate (3HD) from crude waste glycerol. Among them, Pseudomonas sp. ASC2 accumulated the highest content of PHAs 61.80 %wt with 3HO 14.69 mol% and 3HD 85.31 mol% and the residual biomass of 8.51 g/L was obtained at 24 h. The Mw of produced PHAs obtained from Acinetobacter sp. ASC1, Pseudomonas sp. ASC2, Enterobacter sp. ASC3, and Bacillus sp. ASC4 were 1,222 525 752 and 1,433 Da. 2012-03-24T07:14:07Z 2012-03-24T07:14:07Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18563 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3534196 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic โพลิเบตาไฮดรอกซีอัลคาโนเอต
โพลิเอสเตอร์
โพลิเมอร์ชีวภาพ
ขยะอินทรีย์
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
Poly-beta-hydroxyalkanoates
Polyesters
Biopolymers
Organic wastes
Biodiesel fuels
spellingShingle โพลิเบตาไฮดรอกซีอัลคาโนเอต
โพลิเอสเตอร์
โพลิเมอร์ชีวภาพ
ขยะอินทรีย์
เชื้อเพลิงไบโอดีเซล
Poly-beta-hydroxyalkanoates
Polyesters
Biopolymers
Organic wastes
Biodiesel fuels
อัมทิกา เมืองวงษ์
การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 สุชาดา จันทร์ประทีป
author_facet สุชาดา จันทร์ประทีป
อัมทิกา เมืองวงษ์
format Theses and Dissertations
author อัมทิกา เมืองวงษ์
author_sort อัมทิกา เมืองวงษ์
title การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
title_short การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
title_full การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
title_fullStr การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
title_full_unstemmed การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
title_sort การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอตโดยใช้ของเสียอินทรีย์จากกระบวนการผลิตไบโอดีเซล
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18563
_version_ 1681412078745681920