การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2006
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1866 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.1866 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
พยาบาล ความผูกพันต่อองค์การ ความภักดีของลูกจ้าง |
spellingShingle |
พยาบาล ความผูกพันต่อองค์การ ความภักดีของลูกจ้าง ละออ อริยกุลนิมิต, 2507- การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
author2 |
พวงเพ็ญ ชุณหปราณ |
author_facet |
พวงเพ็ญ ชุณหปราณ ละออ อริยกุลนิมิต, 2507- |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ละออ อริยกุลนิมิต, 2507- |
author_sort |
ละออ อริยกุลนิมิต, 2507- |
title |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
title_short |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
title_full |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
title_sort |
การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2006 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1866 |
_version_ |
1681414047141986304 |
spelling |
th-cuir.18662008-03-19T02:08:24Z การวิเคราะห์ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ Analysis of factors contributing to retention of nursing department, Regional Hospital and Medical Centers ละออ อริยกุลนิมิต, 2507- พวงเพ็ญ ชุณหปราณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาล ความผูกพันต่อองค์การ ความภักดีของลูกจ้าง วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาลและตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงานอย่างน้อย 5 ปี จำนวน 951 คนประกอบด้วยพยาบาลระดับผู้บริหาร จำนวน 240 คน พยาบาลระดับประจำการ จำนวน 711 คน จากโรงพยาบาลศูนย์ทั่วประเทศ จำนวน 25 แห่ง สุ่มได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามตัวบ่งชี้ที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาล ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ 120 ตัวชี้วัด ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง 0.99 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการสกัดตัวประกอบหลัก Principal Component analysis และหมุนแกนแบบออโธโกนอล (Orthogonal) ด้วยวิธีแวริแมกซ์ (varimax) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ในกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ มีจำนวน 10 ตัวประกอบ 117 ตัวชี้วัดสามารถอธิบายความแปรปรวน ได้ร้อยละ 72.03 โดยมีตัวประกอบ ดังต่อไปนี้ 1) การมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือร้อยละ12.6 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 23 ตัวบ่งชี้ 2) การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 11.7 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 17 ตัวบ่งชี้ 3) การให้อิสระในงาน เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ10.6 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 20 ตัวบ่งชี้ 4) การให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสม เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ10.2 มีตัวบ่งชี้ที่บรรยายตัวประกอบ จำนวน 10 ตัวบ่งชี้ 5) การพัฒนาวิชาการและวิจัย เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 9.7 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 16 ตัวบ่งชี้ 6) การสนับสนุนการศึกษาต่อของบุคลากร เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.6 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวบ่งชี้ 7) การมีสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำงาน เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.1 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 6 ตัวบ่งชี้ 8) การมีความสมดุลระหว่างชีวิตส่วนตัวและงาน เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 4.0 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 9 ตัวบ่งชี้ 9) การมีโครงสร้างขององค์การแบบแบนราบ เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 3 ตัวบ่งชี้ 10) การให้โอกาสก้าวหน้าในงาน เป็นตัวประกอบที่ทำให้เกิดการคงอยู่ที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.0 มีตัวบ่งชี้ที่อธิบายตัวประกอบ จำนวน 4 ตัวบ่งชี้ The purpose of this research was to study the factors contributing to retention of nursing department and the items which described those major factors, Regional Hospital and Medical Centers. The sample consisted of 951 professional nurses (240 nurse administrators and 711 staff nurses) from 25 Regional Hospital and Medical Centers all over the country, who had at least five years of experience which were selected by multistage sampling. Questionnaire was developed by the researcher and judged to be acceptable by the panel of experts. Cronbach’s alpha coefficient was 0.99. The preliminary scale consisted of 120 items anchored by a rating scale. To assess the structure of the factors contributing to retention of nursing department, factor analyzed all 120 items by means of principal component analysis with orthogonal rotation and varimax method. The research findings were as follows: There were 10 significant factors contributing to retention of nursing department that described by 117 items accounted for 72.03 percent which were: 1) Participative management described by 23 items accounted for 12.6 percent. 2) Transformational leadership described by 17 items accounted for 11.7 percent. 3) Autonomy in work described by 20 items accounted for 10.6 percent. 4) Appropriate compensation described by 10 items accounted for 10.2 percent. 5) Academic and research development described by 16 items accounted for 9.7 percent. 6) Continuing educational support described by 9 items accounted for 4.6 percent. 7) Good work environment described by 6 items accounted for 4.1 percent. 8) Balance of work and personal life described by 9 items accounted for 4.0 percent. 9) Flat organization structure described by 3 items accounted for 2.5 percent. 10) Opportunity for work advancement described by 4 items accounted for 2.0 percent. 2006-08-16T15:13:41Z 2006-08-16T15:13:41Z 2546 Thesis 9741744412 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1866 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1721610 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |