การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุจิตรา จงอยู่สุข
Other Authors: เลขา ปิยะอัจฉริยะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18987
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.18987
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอน
ความคิดรวบยอด
spellingShingle ประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอน
ความคิดรวบยอด
สุจิตรา จงอยู่สุข
การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524
author2 เลขา ปิยะอัจฉริยะ
author_facet เลขา ปิยะอัจฉริยะ
สุจิตรา จงอยู่สุข
format Theses and Dissertations
author สุจิตรา จงอยู่สุข
author_sort สุจิตรา จงอยู่สุข
title การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
title_short การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
title_full การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
title_fullStr การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
title_sort การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18987
_version_ 1681411058278858752
spelling th-cuir.189872012-04-06T07:54:30Z การเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ของนักเรียนชั้นประถมปีที่สี่ ในโรงเรียนทดลองระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 A comparison of concepts on democracy of prathom suksa four pupils in the experimental schools under the elementary school curricula B.E. 2503 and B.E. 2521 สุจิตรา จงอยู่สุข เลขา ปิยะอัจฉริยะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ประชาธิปไตย -- การศึกษาและการสอน ความคิดรวบยอด วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 ในโรงเรียนทดลองหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ระหว่างนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 กับนักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 อันจะเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนรู้และเกิดความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ผู้วิจัยนำแบบสอบเพื่อสำรวจความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย จำนวน 44 ข้อไปทดสอบนักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 ในโรงเรียนทดลองหลักสูตรทั้ง 4 แห่ง ของกรมวิชาการในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตัวอย่างประชากร จำนวน 324 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 153 คน เป็นกลุ่มควบคุม 171 คน แบบสอบดังกล่าว ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยคุณลักษณะสำคัญ ซึ่งนักการศึกษาเห็นว่า บุคคลในสังคมประชาธิปไตยควรมีเป็นเกณฑ์ในการสร้างสถานการณ์ จำนวน 44 สถานการณ์ ให้นักเรียนพิจารณาเพื่อเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติตนในแต่ละสถานการณ์ ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบนี้ ผู้วิจัยนำมาวิเคราะห์โดยทดสอบค่าที (t-test) และทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ดังนี้คือ 1. นักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 มีคะแนนความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ไม่สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 2. โดยส่วนรวมแล้ว นักเรียนหญิงและนักเรียนชายที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 และ 2521 มีความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นนักเรียนหญิงและนักเรียนชายที่เรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 มีความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตยแตกต่างกัน 3. นักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 ซึ่งเรียนด้วยหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2503 และ 2521 ที่ผู้ปกครองมีอาชีพแตกต่างกัน มีความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตยไม่แตกต่างกัน จากการสรุปผลการศึกษา ผู้วิจัยเสนอแนะแนวทางในการจัดการเรียนการสอนดังนี้ 1. โรงเรียนควรสร้างบรรยากาศในโรงเรียนอย่างเป็นประชาธิปไตยและควรจัดการปกครองและกิจกรรมเพื่อปลูกฝังความคิดรวบยอดเรื่องประชาธิปไตย 2. ครูควรจัดการเรียนการสอนโดยเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น 3. นักเรียนต้องเต็มใจในการมีส่วนร่วมในการเรียน เพื่อสร้างสมคุณลักษณะของประชาธิปไตยให้เกิดขึ้น The purpose of this study was to compare the concepts on democracy of Prathom Suksa Four pupils in schools implementing the Elementary School Curriculum B.E. 2503 and schools implementing the Elementary School Curriculum B.E 2521. Results of this study could be used as a guideline in planning learning-teaching strategies for developing concepts on democracy in pupils. A 44 item-test of concepts on democracy was constructed and administered to 324 Prathom Suksa Four pupils in the four experimental schools in Bangkok which were controlled by The Department of Educational Technique of the Ministry of Education, 153 of which were in the experimental groups while the other 171 were in the control groups. The test was based on the essential characteristics of the citizen in a democratic society identified by educators. Forty-four problematic situations were constructed for the sample pupils to solve. The statistic t-test and F-test were then applied to analyze the data The Results were as follows: 1. The mean scores of the concepts on democracy made by the pupils in schools implementing the Curriculum B.E. 2521 was not higher than those of the pupils implementing the Curriculum B.E.2503. 2. In total there was no significant difference between the scores gained by boys and those by girls in both types of schools, but specifically the scores of boys and girls in schools implementing the curriculum B.E. 2503 were significantly different. 3. The scores of the concepts on democracy of the pupils whose parents had different occupations were not significantly different. The investigator then suggested that: 1. the schools create democratic atmosphere and the activities to develop the concepts on democracy be provided. 2. the teachers should allow the students to participate more in the teaching and learning process. 3. the pupils willingly participate in the developmental process of democratic characteristics. 2012-04-04T15:26:51Z 2012-04-04T15:26:51Z 2524 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18987 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 487328 bytes 574331 bytes 837274 bytes 427510 bytes 422688 bytes 577138 bytes 1018265 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย