กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18991 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.18991 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.189912012-04-06T08:26:41Z กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา A Mnemonic method for learning technical terms in biology สุกัญญา สันติพัฒนาชัย ธีระ อาชวเมธี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การจำ (จิตวิทยา) วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519 การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนความหมายของคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา ว่าระหว่างกลุ่มที่ 1 ซึ่งรู้เทคนิคช่วยจำโดยใช้คำรหัส กับกลุ่มที่ 2 ซึ่งไม่รู้เทคนิคการใช้คำรหัสแต่ได้ตารางที่มีคำรหัส และกลุ่มที่ 3 ซึ่งไม่รู้เทคนิคการใช้คำรหัส พร้อมทั้งไม่ได้คำรหัสด้วย จะมีความสามารถในการจำความหมายของคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยาต่างกันอย่างไร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2518 จำนวน 90 คน ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาที่อาสาสมัครเข้ารับการทดลอง ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน คือ กลุ่มที่ 1, กลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 ดังกล่าวข้างต้น ทดสอบโดยเสนอให้ผู้รับการทดลองทั้ง 3 กลุ่ม เรียนตารางความหมายของคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ได้ตาราง ก. ซึ่งเสนอในรูป คำศัพท์, คำรหัส และความหมายของคำศัพท์ ส่วนกลุ่มที่ 3 ได้ตาราง ข. ซึ่งเสนอในรูป คำศัพท์กับความหมายของคำศัพท์เท่านั้น ให้เรียนติดต่อกัน 3 วัน ใช้ตารางคำศัพท์ ตารางละ 20 คำศัพท์ ข้อมูลที่ได้นำมาหาค่าเฉลี่ย วิเคราะห์ความแปรปรวน และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธีนิวแมน-คูลส์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้รับการทดลองทั้ง 3 กลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในการจำความหมายของคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา 2. ค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนจำนวนความหมายของคำศัพท์ที่จำได้ในวันที่ 1 ของการทดลอง แตกต่างจากค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนจำนวนความหมายของคำศัพท์ที่จำได้ ในวันที่ 2 และวันที่ 3 ของการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนจำนวนความหมายของคำศัพท์ที่จะได้ในวันที่ 2 ของการทดลอง แตกต่างจากค่ามัชฌิมเลขคณิตของคะแนนจำนวนความหมายของคำศัพท์ที่จำได้ ในวันที่ 3 ของการทดลอง อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 The purpose of this thesis was to compare the effectiveness in learning the technical terms in biology, between the first group that knew the keyword method, the second and the third that did not know the keyword method. The second group received the table with keywords, while the third received the table with no keyword. Subjects were the 90 volunteers from Mathayom Suksa 4 of Triam Udom Suksa School in academic year 1975 who were randomly divided into 3 groups, 30 subjects each. All subjects were presented the tables of technical terms in biology which were constructed by the researcher to be learnt for 3 days. The first and second groups of subjects received Table a containing technical terms, keywords, and meanings. The third group received Table b containing only technical terms and meanings. The data were computed to arrive at the means. An analysis of variance was performed and followed by Newman-Keuls Test. The results of the study were as follows: 1. There was no significant difference (at .01 level) among all groups of subjects in learning technical terms in biology. 2. There was significant difference (at .01 level) among the 1st day, the 2nd day, and the 3rd day of the experiment in learning technical terms in biology. 3. There was no significant difference (at .01 level) between the 2nd day and the 3rd day of the experiment in learning technical terms in biology. 2012-04-04T15:45:17Z 2012-04-04T15:45:17Z 2519 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18991 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 387691 bytes 503973 bytes 420013 bytes 333101 bytes 397298 bytes 307804 bytes 494954 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การจำ (จิตวิทยา) |
spellingShingle |
การจำ (จิตวิทยา) สุกัญญา สันติพัฒนาชัย กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519 |
author2 |
ธีระ อาชวเมธี |
author_facet |
ธีระ อาชวเมธี สุกัญญา สันติพัฒนาชัย |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุกัญญา สันติพัฒนาชัย |
author_sort |
สุกัญญา สันติพัฒนาชัย |
title |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
title_short |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
title_full |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
title_fullStr |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
title_full_unstemmed |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
title_sort |
กลวิธีการจำในการเรียนคำศัพท์วิชาการทางชีววิทยา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18991 |
_version_ |
1681412852228816896 |