การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19012 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.19012 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 |
author2 |
ประพันธ์ กิงมิ่งแฮ |
author_facet |
ประพันธ์ กิงมิ่งแฮ สุชาติ มุทุกันฑ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
สุชาติ มุทุกันฑ์ |
spellingShingle |
สุชาติ มุทุกันฑ์ การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
author_sort |
สุชาติ มุทุกันฑ์ |
title |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
title_short |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
title_full |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
title_fullStr |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
title_full_unstemmed |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
title_sort |
การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19012 |
_version_ |
1681411131828076544 |
spelling |
th-cuir.190122012-04-06T07:14:28Z การเปรียบเทียบสมรรถภาพนักฟุตบอลทีมชาติไทยกับทีมอุดมศึกษา A comparison of soccer ability in the Thai Nation team and in the varsity teams สุชาติ มุทุกันฑ์ ประพันธ์ กิงมิ่งแฮ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายและความสามารถทางฟุตบอลทีมชาติไทย กับนักฟุตบอลทีมอุดมศึกษา คือ นักฟุตบอลทีมวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา กับ นักฟุตบอลทีมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจะเป็นแนวทางในการปรับปรุงนักกีฬาฟุตบอลให้มีความสามารถทางกีฬานี้มากขึ้น ในการวัดสมรรถภาพทางกายนั้นใช้วิธีทดสอบ 2 วิธีคือ ใช้การทดสอบของ ฮาวาร์ด กับวิ่งเร็ว 50 เมตร ส่วนการวัดความสามารถทางฟุตบอลใช้วิธีทดสอบ 3 วิธี คือ วิธีวัดทักษะในการเดาะลูกบอลวิธีวัดทักษะในการเลี้ยงลูกบอลซิกแซก และแบบวัดทักษะการเตะลูกบอลแม่นยำ จำนวนประชากรที่ใช้ในการทดสอบมี 54 คน ผลการวิจัยพบว่า นักฟุตบอลทีมชาติไทยมีทักษะในการเล่น การเดาะลูกบอล การเลี้ยงลูกฟุตบอลซิกแซกและการเตะลูกฟุตบอลเร็วและแม่นยำ โดยเฉลี่ยดีกว่าทั้งสองทีม ส่วนทีมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทีมวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษามีทักษะใกล้เคียงกัน และทีมชาติไทยมีสมรรถภาพทางกายในการวิ่ง 50 เมตร และการทำงานของหัวใจดีกว่าทั้งสองทีม ส่วนทีมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและทีมวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา มีสมรรถภาพทางกายไม่แตกต่างกัน ผลการทดสอบความแตกต่างของคะแนนรวมเกี่ยวกับทักษะในการเดาะลูกฟุตบอลการเลี้ยงลูกฟุตบอลซิกแซก และการเตะลูกฟุตบอลแม่นยำของทั้งสามทีม โดยวิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman-Keuls) ปรากฏว่าทีมชาติไทยมีทักษะดีกว่าอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ทั้ง 3 อย่าง และทีมวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา กับทีมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และส่วนผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายในการวิ่ง 50 เมตรและการวัดการทำงานของหัวใจทีมชาติไทยมีสมรรถภาพทางกายในการวิ่ง 50 เมตร และการทำงานของหัวใจดีกว่าทั้งสองทีม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และ .05 ตามลำดับ และทีมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทีมวิทยาลัยวิชาการศึกษาพลศึกษา มีสมรรถภาพทางกายในการวิ่ง 50 เมตร และการทำงานของหัวใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 The purpose of the study was to make comparisons on levels of physical fitness and abilities in football skills among players of the Thai National team and those of the College of Physical Education and the Chulalongkorn University. Through the outcomes of this endeavor, it was hoped, methods and techniques of training football players in their skills of the game could be improved. In measuring the physical fitness, two methods were used, namely, the Harvard method, and the 50-meter race. In measuring the abilities in football skills, three methods were used, namely, the skills in tossing, in zig-zag dribbling and in sharp shooting. The sample size used 54. The one way analysis of variance was applied for data analysis. Follows are the findings of the study. The players of the national team were averagely more skillful in ball juggling than those of the other two teams while those of the two teams were not different in this aspect. As for their abilities in a 50 meter race and Harvard Step Test, the players of the national team were not different in these aspects. When the Newman-Keuls method was applied to find total differences in ball juggling, zigzag ball dribbling, and ball shooting abilities, it was found that the players of the national team were skillfully superior to those of the other two teams at .01 level of significance. The skills of players of the College of Physical Education and the Chulalongkorn University teams were not different at .05 level of significance. It is interesting to note that the players of the national team were superior to those of the two teams in a 50 yard running ability and cardiovascular efficiency. The total differences in these aspects were significant at .01 and .05 levels, respectively. Similarly, the other two teams were not different in these aspects at .05 level of significance. 2012-04-06T04:56:47Z 2012-04-06T04:56:47Z 2517 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19012 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 414625 bytes 413312 bytes 520909 bytes 341457 bytes 502657 bytes 440376 bytes 467926 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |