ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด

วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สายใหม ตุ้มวิจิตร
Other Authors: สุรีพร ธนศิลป์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1923
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1923
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic เคมีบำบัด
น้ำมันหอมระเหย--การใช้รักษา
ความล้า
เต้านม--มะเร็ง
การบำบัดด้วยการนวด
แบบจำลองการจัดการกับอาการ
spellingShingle เคมีบำบัด
น้ำมันหอมระเหย--การใช้รักษา
ความล้า
เต้านม--มะเร็ง
การบำบัดด้วยการนวด
แบบจำลองการจัดการกับอาการ
สายใหม ตุ้มวิจิตร
ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 สุรีพร ธนศิลป์
author_facet สุรีพร ธนศิลป์
สายใหม ตุ้มวิจิตร
format Theses and Dissertations
author สายใหม ตุ้มวิจิตร
author_sort สายใหม ตุ้มวิจิตร
title ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
title_short ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
title_full ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
title_fullStr ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
title_sort ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1923
_version_ 1681413525825650688
spelling th-cuir.19232007-12-20T13:01:17Z ผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด The effect of symptom management with aromatherapy massage program on fatigue in breast cancer patients after mastectomy undergoing chemotherapy สายใหม ตุ้มวิจิตร สุรีพร ธนศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ เคมีบำบัด น้ำมันหอมระเหย--การใช้รักษา ความล้า เต้านม--มะเร็ง การบำบัดด้วยการนวด แบบจำลองการจัดการกับอาการ วิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อความเหนื่อยล้าในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัด กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังการผ่าตัดที่ได้รับเคมีบำบัดเพศหญิง ที่เข้ารับการรักษาตัวที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติจำนวน 40 ราย ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มควบคุมจนครบ 20 รายแล้วจึงเก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มทดลองอีก 20 ราย โดยคำนึงถึงความคล้ายคลึงกันในเรื่องของอายุ โดยแตกต่างกันไม่เกิน 5 ปี และการได้รับเคมีบำบัดสูตรเดียวกัน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยและการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากแบบจำลองการจัดการกับอาการของ Dodd et al. (2001) และแนวคิดเกี่ยวกับการนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการพยาบาลแบบผสมผสาน โดยโปรแกรมประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1) การประเมินความต้องการและประสบการณ์การรับรู้ของผู้ป่วย 2) การให้ความรู้ 3) การนวดด้วยน้ำมันหอมระเหย และ 4) การประเมินผล โดยมีแผนการสอนและคู่มือการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาความเหนื่อยล้าสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเป็นสื่อที่ใช้ในโปรแกรม โปรแกรมและสื่อผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบประเมินความเหนื่อยล้า วิเคราะห์หาความเที่ยงของเครื่องมือโดยหาค่าสัมประสิทธิ์ อัลฟาของครอนบาคได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนความเหนื่อยล้าของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับอาการร่วมกับ การนวดด้วยน้ำมันหอมระเหยน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05([Mean]ก่อนการทดลอง = 115.30 ; [Mean]หลังการทดลอง = 45.95 ; t-test = 12.87) 2. คะแนนความเหนื่อยล้าภายหลังเข้าร่วมการทดลองของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ([Mean] t กลุ่มทดลอง] = 45.95 ; [Mean]กลุ่มควบคุม = 125.10 ; t-test = 8.88) This quasi-experimental research aimed to test the effect of the Symptom Management with Aromatherapy Massage Program on fatigue in breast cancer patients after mastectomy undergoing chemotherapy. Study samples were 40 out patients after mastectomy undergoing chemotherapy who were treated at The National Cancer Institute. The subjects were divided into a control group and an experimental group. The groups were matched in terms of age and chemotherapy regimen. A control group received routine nursing care, while an expermental group received the Symptom Management with Aromatherapy Massage Program together with routine nursing care. The program, based on the Symptom Management Model (Dodd et al., 2001) and Complementary concepts in, was comprised of four sessions: a) symptom experience assessment, b) knowledge providing, c) Aromatherapy Massage, d) fatigue management evaluation phase. The instrument for collecting data was the Fatigue Questionnaire and was tested for reliability with Cronbach's alpha coefficient was .96. Data were analyzed using descriptive statistics, and t-test. The major findings were thatn the posttest mean score on fatigue of an experimental group was significantly lower than that of the pretest ([Mean]pretest = 115.30 ; [Mean]posttest = 45.95 ; t-test = 12.87 ; p<.05), and the posttest mean score of fatigue of an experimental group was significantly lower than that of a control group ([Mean]experiment = 45.95 ; [Mean]control = 125.10 ; t-test = 8.88 ; p < .05). 2006-08-18T06:20:51Z 2006-08-18T06:20:51Z 2547 Thesis 9741759452 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1923 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2476910 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย