กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิชญา ผิวคำ
Other Authors: ศิริเดช สุชีวะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19443
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.19443
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic จิตตปัญญาศึกษา
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา
กรณีศึกษา
การเรียนรู้
Contemplative education
Education, Higher
Case method
Learning
spellingShingle จิตตปัญญาศึกษา
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา
กรณีศึกษา
การเรียนรู้
Contemplative education
Education, Higher
Case method
Learning
วิชญา ผิวคำ
กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 ศิริเดช สุชีวะ
author_facet ศิริเดช สุชีวะ
วิชญา ผิวคำ
format Theses and Dissertations
author วิชญา ผิวคำ
author_sort วิชญา ผิวคำ
title กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
title_short กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
title_full กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
title_fullStr กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
title_full_unstemmed กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
title_sort กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19443
_version_ 1681412116727201792
spelling th-cuir.194432013-08-23T04:08:23Z กรณีศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา A case study of learning management model based on contemplative education approach in higher education วิชญา ผิวคำ ศิริเดช สุชีวะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ จิตตปัญญาศึกษา การศึกษาขั้นอุดมศึกษา กรณีศึกษา การเรียนรู้ Contemplative education Education, Higher Case method Learning วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 ศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา และศึกษาผลการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพในรูปแบบการศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) ของสถาบันอุดมศึกษา ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตตปัญญาศึกษาและการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาบริบททั่วไปและหลักสูตรของกรณีศึกษา การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การวิเคราะห์เอกสาร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสังเกตสภาพและบริบททั่วไปของกรณีศึกษา แบบบันทึกการสังเกตกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการจำแนกชนิดข้อมูล การวิเคราะห์เนื้อหา การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย และเปรียบเทียบข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาในอุดมศึกษา ตั้งอยู่บนปรัชญาพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้แนวจิตตปัญญาคือ ความเชื่อมั่นในความเป็นมนุษย์และทัศนะแบบองค์รวม โดยมีจุดมุ่งหมายของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยจุดมุ่งหมายหลักสำคัญสองประการคือ ต้องการให้ผู้เรียนรู้เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานในตนเอง และเกิดจิตสำนึกต่อส่วนรวม การจัดกระบวนการเรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาอาจถือได้ว่าไม่มีรูปแบบตายตัว สามารถปรับเปลี่ยนไปตามเนื้อหาและกระบวนการที่หลากหลาย เป็นการสร้างเงื่อนไขให้ศักยภาพภายในที่มีอยู่แล้วสามารถพัฒนาขึ้นได้ เป็นกระบวนการที่มุ่งสร้างเงื่อนไขให้เกิดการเติบโตขึ้นจากภายใน และเป็นกระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ในลักษณะกระบวนการของการสืบค้นร่วม เป็นไปตามหลักการพื้นฐาน 7 ประการ หรือ หลักจิตตปัญญา 7 หรือ 7C’s อันประกอบด้วยการพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ (Contemplation) หลักความรักความเมตตา (Compassion) การเชื่อมโยงสัมพันธ์ (Connection) การเข้าเผชิญ (Confrontation) หลักความต่อเนื่อง (Continuity) หลักความมุ่งมั่น (Commitment) และหลักชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Community) บทบาทของผู้จัดการเรียนรู้และผู้เรียนรู้บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษานั้น ถือเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ซึ่งกันและกันเป็นอย่างมาก ทั้งสองฝ่ายต่างต้องทำหน้าที่เป็นกัลยาณมิตร แบ่งปันทั้งความรู้และเรียนรู้ร่วมกัน ครูผู้จัดการเรียนรู้นั้นเป็นผู้ที่คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้เกิดการสะท้อนตนเอง สามารถเกิดความตระหนักรู้ ส่วนผู้เรียนแสดงบทบาทเป็นทั้งผู้ฟังที่ดีและผู้พูดที่ดี โดยมีการรับฟังอย่างลึกซึ้งและพูดในสิ่งที่ถูกใคร่ครวญมาก่อน การวัดและประเมินผลโดยการใช้กระบวนทัศน์แบบบูรณาการหรือใช้กระบวนทัศน์ร่วมกัน ประกอบด้วยการประเมินตนเอง (เรียกว่าบุคคลที่ 1 หรือทัศน์ 1) การประเมินโดยมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้นเรียน (เรียกว่า บุคคลที่ 2 หรือทัศน์ 2) และโดยผู้เชี่ยวชาญหรืออาจารย์ (เรียกว่าบุคคลที่ 3 หรือทัศน์ 3) จะอาศัยเครื่องมือในการวัดคือ การมีส่วนร่วม การเขียนบันทึกการเดินทาง การทำโครงการย่อยและการทำโครงการ 2. ผลการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนรู้เกิดขึ้นจากการรับรู้ถึงความคิด ความรู้สึก และการกระทำต่างๆ ของตนเอง ผู้เรียนรู้ทุกคนต่างมีความเห็นสอดคล้องกันว่าตนเกิดการมีสติรู้ตัวและมีสติอยู่กับปัจจุบันขณะ ทำให้ผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมของตนได้ดีขึ้นทั้งทางวาจาและการกระทำ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงตนเองและปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างเป็นรูปธรรม ผู้วิจัยพบว่าสิ่งที่เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในตัวผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงใน 3 มิติคือ การเข้าใจและยอมรับตนเอง การเข้าใจและการยอมรับผู้อื่น และการเข้าใจและการยอมรับความเป็นจริงตามธรรมชาติ To study the learning management model based on contemplative education approach in higher education and to study transformative learning of learners from the learning management model based on contemplative education approach in higher education. Field research methodology: A case study in A Master of Arts Program in Contemplative Education and Transformative Learning, Mahidol University Saraya Campus. The data collection process consisted of participant and non-participant observations, formal interview and informal interview documentary analysis. The data was analyzed by the content analysis, reduction of data and data comparative. The research results were as follows 1. Learning management model based on contemplative education approach in higher education is referred to the basic philosophy of learning process of contemplation approach, that is, the belief in humanity and holistic approach. The objective of learning management process consists of 2 major goals which are to enable the learner to develop basic change in oneself and good sense to the community. Learning management based on contemplation seems not to have any fixed model and can be altered to respond to content and process aimed to provide conditions for existing potential to be able to be developed. It is a process for developing conditions to grow from the inside and a learning process entertaining participation in the manner of co-researching in accordance with 7 basic principles or “7 Contemplative Principles” or 7C’s consisting of Contemplation, Compassion, Connection, Confrontation, Continuity, Commitment and Community. With respect to the roles of learning administrator and learner under the approach of contemplative education, they possess significant influence to each other as either party will have to be a good advisor to the other party in sharing knowledge and in learning together. The instructor as a learning administrator will have to urge the learner to reflect oneself, to attain acknowledgement while the learner will play a role of good listener and speaker by really listening and speaking for what has been considered. Testing and evaluation by applying integral paradigm or cooperative paradigm will consist of self-evaluation (called 1st person or 1st paradigm), evaluation by other learners in the class (2nd person or 2nd paradigm) and by specialist or instructor (3rd person or 3rd paradigm). The tools for testing include participation, journal, mini project and projects. 2. The result of learning leading to the change in the learner will result from recognition of the idea, feeling and acts of oneself. The learners are in the agreement that they become conscious and are always aware of the present. 0They can better control their behavior both verbally and physically. This has led to concrete change in oneself and interaction with others. The researcher also synthesized things resulted from change in the learner and concluded that such change can be categorized in 3 dimensions including self-understanding and acceptance, understanding and acceptance in others and understanding and acceptance of natural truth. 2012-05-04T14:35:54Z 2012-05-04T14:35:54Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19443 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2620588 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย