การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19502 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.19502 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.195022012-05-08T07:30:54Z การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ Information exposure and effectiveness of public relations media for floating market tourism จุฑาทิตย์ วัฒนะธรรมนนท์ กรรณิการ์ อัศวดรเดชา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ การประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยว -- การประชาสัมพันธ์ ตลาดน้ำ -- ไทย ตลาดน้ำอัมพวา (สมุทรสงคราม) ตลาดน้ำตลิ่งชัน (กรุงเทพฯ) ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง (สมุทรปราการ) วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 ศึกษาการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ การรับรู้ข่าวสาร พฤติกรรมการท่องเที่ยว และประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ ศึกษาการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของตลาดน้ำอัมพวา ตลาดน้ำตลิ่งชัน และตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง โดยศึกษาจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ส่วนที่สองคือ ศึกษาประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์ โดยศึกษาการรับรู้ข่าวสารและพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การศึกษาการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง ไม่มีแผนประชาสัมพันธ์โดยเฉพาะ แต่จะมีหน่วยงานของตลาดน้ำแต่ละแห่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง และได้รับความช่วยเหลือจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย รวมทั้งสื่อมวลชนภายนอกในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง จะมีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ สื่อที่กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้มากที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงที่สุดก็คือ สื่อโทรทัศน์ เพราะเป็นสื่อที่เข้าถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวได้อย่างทั่วถึง สำหรับปัญหาที่พบจากการดำเนินงานประชาสัมพันธ์จะแตกต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ส่วนผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า กลุ่มตัวอย่างในตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง มีการรับรู้ข่าวประชาสัมพันธ์จากสื่อโทรทัศน์มากที่สุด โดยเฉพาะในเรื่องของการเดินทาง และคิดว่าสื่อโทรทัศน์เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด ซึ่งเมื่อกลุ่มตัวอย่างได้เห็นสื่อแล้วจึงตัดสินใจมาเที่ยว โดยมีเหตุผลที่ต้องการพักผ่อน นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างยังคิดว่าข้อมูลจากสื่อประชาสัมพันธ์ที่ดึงดูดใจมากที่สุดก็คือ ภาพบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมของตลาดน้ำ และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าจะกลับมาเที่ยวที่ตลาดน้ำอีกในอนาคต To study information exposure and effectiveness of public relations media for floating market tourism. The research methodology was an integration of qualitative and quantitative approaches. In-depth interview and survey were used to collect the data. For survey research, the samples were 400 people in Talingchan floating market, Bangnampeung floating market and Amphawa floating market. Questionnaires were used for data collecting. SPSS of Windows was used for data processing. The data were analyzed in term of frequency, percentage, mean and standard deviation. The qualitative research indicated there was not a formal public relations campaign. Each floating market has its special unit responsible for public relations campaign and publicity with support from Authority Tourism Office. The medium most people were exposed to was television. The problem of public relations were different from place to place. As for the quantitative result, tourists perceived public relations information especially that concerned with traveling most. Television was the most effective medium especially for making decision for visiting the floating markets. The reason for traveling was relaxation. The respondents thought that the most attractive public relations tool was the scenic photo of the floating markets. Most respondents thought that they would return to the floating markets 2012-05-08T07:30:53Z 2012-05-08T07:30:53Z 2551 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19502 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1800094 bytes application/pdf application/pdf ไทย สมุทรสงคราม กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
การประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยว -- การประชาสัมพันธ์ ตลาดน้ำ -- ไทย ตลาดน้ำอัมพวา (สมุทรสงคราม) ตลาดน้ำตลิ่งชัน (กรุงเทพฯ) ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง (สมุทรปราการ) |
spellingShingle |
การประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยว -- การประชาสัมพันธ์ ตลาดน้ำ -- ไทย ตลาดน้ำอัมพวา (สมุทรสงคราม) ตลาดน้ำตลิ่งชัน (กรุงเทพฯ) ตลาดน้ำบางน้ำผึ้ง (สมุทรปราการ) จุฑาทิตย์ วัฒนะธรรมนนท์ การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
description |
วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 |
author2 |
กรรณิการ์ อัศวดรเดชา |
author_facet |
กรรณิการ์ อัศวดรเดชา จุฑาทิตย์ วัฒนะธรรมนนท์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
จุฑาทิตย์ วัฒนะธรรมนนท์ |
author_sort |
จุฑาทิตย์ วัฒนะธรรมนนท์ |
title |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
title_short |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
title_full |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
title_fullStr |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
title_full_unstemmed |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
title_sort |
การรับรู้ข่าวสารและประสิทธิผลของสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตลาดน้ำ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19502 |
_version_ |
1681412427190632448 |