ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน

วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512-
Other Authors: ชนกพร จิตปัญญา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2006
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1962
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.1962
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การวิเคราะห์อภิมาน
มะเร็ง--ผู้ป่วย
มะเร็ง--การพยาบาล
spellingShingle การวิเคราะห์อภิมาน
มะเร็ง--ผู้ป่วย
มะเร็ง--การพยาบาล
จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512-
ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
author2 ชนกพร จิตปัญญา
author_facet ชนกพร จิตปัญญา
จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512-
format Theses and Dissertations
author จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512-
author_sort จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512-
title ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
title_short ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
title_full ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
title_fullStr ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
title_full_unstemmed ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
title_sort ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2006
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1962
_version_ 1681412695763451904
spelling th-cuir.19622007-12-20T10:54:45Z ผลของการปฏิบัติการพยาบาลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง : การวิเคราะห์อภิมาน Effect of nursing interventions on psychosocial outcomes of cancer patients : a meta-analysis จรีรัตน์ นวมะชิติ, 2512- ชนกพร จิตปัญญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ การวิเคราะห์อภิมาน มะเร็ง--ผู้ป่วย มะเร็ง--การพยาบาล วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 การสังเคราะห์งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาลของผู้ป่วยมะเร็ง และศึกษาประสิทธิผลของการปฏิบัติการพยาบาลประเภทต่างๆ ได้แก่ การให้ข้อมูล การสอน การให้คำปรึกษา การใช้กระบวนการกลุ่ม และการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ที่มีต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็งและศึกษาคุณลักษณะงานวิจัยที่มีผลต่อความแปรปรวนของค่าขนาดอิทธิพลของการปฏิบัติการพยาบาลที่มีต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง โดยศึกษาจากวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2527-2547 จำนวน 42 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสรุปคุณลักษณะและแบบประเมินคุณภาพงานวิจัยซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาความเที่ยงโดยวิธีใช้ผู้ประเมินร่วมกัน (inter-rater reliability) ระหว่างผู้วิจัยและอาจารย์ที่ปรึกษา ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของการสังเกตเท่ากับ .90 และ .88 ตามลำดับ นำไปวิเคราะห์ตามวิธีของ Glass, McGaw, and Smith (1981) ได้ค่าขนาดอิทธิพลจำนวน 76 ค่า ผลการสังเคราะห์สรุปได้ดังนี้ 1. งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ ส่วนใหญ่เป็นวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต (88.09%) จากมหาวิทยาลัยมหิดล (47.61%) ในสาขาพยาบาลศาสตร์ (66.67%) มีขนาดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ระหว่าง 1-30 คน (54.76%) เครื่องมือวัดตัวแปรของงานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ส่วนใหญ่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพทั้งความตรงและความเที่ยง (86.95%) คุณภาพโดยรวมของงานวิจัยส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก (52.38%) การปฏิบัติการพยาบาลที่นำมาใช้ศึกษามากที่สุดคือ การใช้กระบวนการกลุ่ม (23.81%) และผลลัพธ์ด้านจิตสังคมที่ศึกษาส่วนใหญ่คือ ความวิตกกังวล (25.49%) 2. การปฏิบัติการพยาบาลประเภทการให้คำปรึกษา ให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมโดยรวมสูงที่สุด (d = 3.661) การพยาบาลระหว่างระบบสนับสนุนและให้ความรู้ให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมโดยรวมต่ำที่สุด (d = 0.683) 3. การให้ข้อมูลให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านการปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์สูงที่สุด (d = 1.936) การสอนให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านความซึมเศร้าสูงที่สุด (d = 2.918) การให้คำปรึกษาให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านความหวังสูงที่สุด (d = 11.91) การใช้กระบวนการกลุ่มให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านความหวังสูงที่สุด (d = 10.44) การให้ข้อมูลร่วมกับการสนับสนุนด้านอารมณ์ให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยสูงที่สุด (d = 4.675) การพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ให้ค่าขนาดอิทธิพลต่อผลลัพธ์ด้านความผาสุกทางใจสูงที่สุด (d = 1.156) 4. ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีผลต่อความแปรปรวนของค่าขนาดอิทธิพลของการปฏิบัติการพยาบาลที่มีต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็ง และสามารถพยากรณ์ความแปรปรวนของค่าขนาดอิทธิพลเกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาลที่มีต่อผลลัพธ์ด้านจิตสังคมของผู้ป่วยมะเร็งได้ร้อยละ 15.2 The purpose of this meta analysis were to study 1) Methodological and substantive characteristics of nursing interventions on psychosocial outcomes of cancer patients; 2) the effect of nursing interventions such as information support, teaching, counselling, group therapy, and educative-supportive system on psychosocial outcomes of cancer patients; and 3) the influence of methodological and substantive characteristics on the effect size. The 42 true and quasi-experimental studies in Thailand during 1984-2004 were recruited. Studies were analyzed for methodological, and substantive characteristics. Effect sizes were calculated for each study using the method of Glass, McGaw, and Smith (1981). This meta analysis yielded 76 effect sizes. Results were as follows: 1. The majority of the studies were master's thesis (88.09%); from Mahidol University (47.61%); from faculty of nursing (66.67%). Most of the study reported conceptual framework (64.28%); tested hypothesis by t-test (30%); had sample size during 1-30 persons (54.76%); and owned good quality (52.38%). Most of the instruments were tested for reliability and validity (86.98%). Group therapy was mostly used (23.81%); and anxiety was mostly studied (25.49%). 2. Counselling had the most effect (d=3.661), while the educative-supportive system had the least effect on psychosocial outcomes (d=0.683). 3. Information support had the most effect on self-concept adaptation (d=1.936), teaching had the most effect on depression (d= 2.918), counselling had the most effect on hope (d=11.91), group therapy had the most effect on hope (d=10.44), information and emotional support had the most effect on uncertainty (d=4.675), and educative-supportive system had the most effect on wellbeing (d=1.156). 4. Sample size was the variable that significantly predicted psychosocial effect size at the level of .05. The predictive power was 15.2 % of the variance. 2006-08-19T04:42:13Z 2006-08-19T04:42:13Z 2547 Thesis 9741763166 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1962 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1224213 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย