มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19745 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.19745 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.197452012-06-28T15:54:46Z มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ Monthon Isan and its historical significance อุราลักษณ์ สิถิรบุตร ศรีศักร วัลลิโภดม ธิดา สาระยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 มณฑลอีสาน เป็นส่วนหนึ่งของภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีไทยได้ขยายอาณาเขตไปครอบคลุมอาณาบริเวณเมืองจำปาศักดิ์ และเมืองขั้นทั้งสองฝั่งขาวแม่น้ำโขงในปี พ.ศ.2319 อันได้แก่ จำปาศักดิ์ (ลาวตอนใต้) อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ ร้อยเอ็ด ยโสธร มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ในปัจจุบัน วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ได้กำหนดเรียกอาณาบริเวณที่กว้างขวางดังกล่าวว่า “เขตพื้นเมืองอีสาน” อาณาบริเวณนี้ มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ที่สืบเนื่องสัมพันธ์กับไทยและลาวมาโดยตลอด ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนกระทั่งไทย เสียดินแดนบางส่วน “เขตพื้นเมืองอีสาน ส่วนที่เหลือฝั่งขาวแม่น้ำโขงได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาจนมีฐานะเป็นมณฑลหนึ่งมีระเบียบการปกครองเป็นแบบเดียวกับมณฑลชั้นในอื่นๆ เนื่องจากรัฐบาลไทยให้อิสระในการปกครองตนเองแก่บริเวณดังกล่าวมาโดยตลอด บริเวณนี้จึงมีความผูกพัน กับรัฐบาลเพียงการส่งส่วย เกณฑ์แรงงาน และกำลังพลครั้นเมือฝรั่งเศสขยายอิทธิพลเข้าครอบครองดินแดงเขมรและญวนรัฐบาลจึงต้องเข้าไปจัดการปรับปรุงการปกครองบริเวณนี้ให้รัดกุมและเข้มงวดขึ้น ทำให้สภาพสังคมความเป็นอยู่และการควบคุมปกครองของผู้คนใน “เขตพื้นเมืองอีสาน” เปลี่ยนแปลงไปหลายอย่าง เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณีการปกครอง การเก็บผลประโยชน์ต่าง ๆ และการศาลเป็นต้น แต่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นการเปลี่ยนเพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลมากกว่า ความสัมพันธ์ระหว่างเขตนี้กับรัฐบาลจึงคงอยู่ในฐานะที่มีภาระหน้าที่ต่อกับเท่านั้น ส่วนขนบธรรมเนียมประเพณีส่วนใหญ่ ก็คงเป็นไปแบบเดิมแม้จะถูกผสมกลมกลืนไปมากแล้วก็ตาม Isan province is an area in the northeastern part of Thailand. During the reign of King Taksin, the country was enlarged to include an area called Champasak and vassal states located on both the left and right bands of the Mekong River. This occurred in B.E. 2319 makig Champasak, or the southern portion of Laos which now known as Ubolrajchatani, Srisaket, Surin, Boi-et, Yaso thorn, Manasarakhom, and Kalasin, a part of the Thai kingdom. This thesis is concerned with the above mentioned area and will refer to it as “Khet Phun Muang Isam” or Traditional Isan Area. Development of this area was historically important to the relationship between Thailand and Laos from the Ayuthtaya period until Thailand lost some of this northeastern srea on the left side of the Meknong River to France. The remaining area was gradually developed until it become one province and was administered as the rest of the country. Since Thailand gave freedom to this area to govern themselves the only commitments were for this area to send Saui(tribute) and to provide labor and military forces. However, as France extended her power over Cambodia and Vietnam, the Thai government has to increase its authority in this area to make it stronger. This caused the life of the society in this area to change in many ways such as the customs, traditions, collection of profits, and laws. But these changes mentioned for the most part responded to the government’s policy. The relationship between this area and the government will probably remain as responsibilities to each other. As for the custom and traditions, basically they will remain the same, although there will be some mixing and assimilation form other areas. 2012-05-20T04:10:55Z 2012-05-20T04:10:55Z 2526 Thesis 9745620629 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19745 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 671113 bytes 1719418 bytes 1479965 bytes 1773716 bytes 1467294 bytes 1513766 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ |
spellingShingle |
ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ประวัติศาสตร์ อุราลักษณ์ สิถิรบุตร มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 |
author2 |
ศรีศักร วัลลิโภดม |
author_facet |
ศรีศักร วัลลิโภดม อุราลักษณ์ สิถิรบุตร |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อุราลักษณ์ สิถิรบุตร |
author_sort |
อุราลักษณ์ สิถิรบุตร |
title |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
title_short |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
title_full |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
title_fullStr |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
title_full_unstemmed |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
title_sort |
มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19745 |
_version_ |
1681413606464290816 |