การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กุลยา ตันติผลาชีวะ
Other Authors: พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19821
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.19821
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic การทำงาน -- การประเมินผล
พยาบาลและการพยาบาล -- การสำรวจ
spellingShingle การทำงาน -- การประเมินผล
พยาบาลและการพยาบาล -- การสำรวจ
กุลยา ตันติผลาชีวะ
การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521
author2 พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์
author_facet พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์
กุลยา ตันติผลาชีวะ
format Theses and Dissertations
author กุลยา ตันติผลาชีวะ
author_sort กุลยา ตันติผลาชีวะ
title การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
title_short การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
title_full การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
title_fullStr การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
title_full_unstemmed การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
title_sort การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19821
_version_ 1681410522830864384
spelling th-cuir.198212012-06-26T05:11:57Z การสร้างแบบสำรวจประเมินผลการปฏิบัติงานพยาบาล Construction of an evaluative inventory for nursing practice กุลยา ตันติผลาชีวะ พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย การทำงาน -- การประเมินผล พยาบาลและการพยาบาล -- การสำรวจ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521 การวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างแบบสำรวจประเมินผลการพยาบาลของพยาบาลที่ให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วยโดยตรง ในการสร้างแบบสำรวจนี้ ผู้วิจัยได้สร้างข้อรายการลักษณะการปฏิบัติ จำนวน 72 ข้อ ในแต่ละข้อรายการจะประกอบด้วยพฤติกรรมแสดงออกที่สามารถสังเกตได้ จำนวนทั้งหมด 385 ข้อ ตามหน้าที่หลักการพยาบาล 5 หมวด คือ การดูแล การป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการร่วมมือปฏิบัติ แล้วได้ดำเนินการสร้างแบบสำรวจเป็นขั้น ๆ ดังนี้คือ 1.ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content Validity) เครื่องมือด้วยการคัดข้อรายการของแบบสำรวจที่ผู้ทรงคุณวุฒิ อันประกอบด้วยนักการศึกษาพยาบาล 4 ท่าน และผู้บริหารการพยาบาล จำนวน 23 ท่าน เห็นด้วยว่าเป็นลักษณะและพฤติกรรมแสดงออกของการพยาบาลตรงกันตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไปไว้ภายหลังได้มีการปรับปรุงข้อรายการของแบบสำรวจแล้ว ได้ข้อที่มีความตรงดังนี้ ข้อรายการลักษณะการปฏิบัติ 72 ข้อ พฤติกรรมแสดงออก 377 ข้อ 2.หาความตรงตามสภาพของ (Concurrent Validity) ของเครื่องมือโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของคะแนนการประเมินพยาบาล จำนวน 35 คน ซึ่งประเมินโดย หัวหน้าตึก จำนวน 7 คน และผู้ประมาณค่า จำนวน 4 คนด้วยสูตรของ เพียร์สัน ได้ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ความตรง 0.94 ซึ่งมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 3.ตรวจสอบความเที่ยงของผู้ให้คะแนนและความเที่ยงตรงภายใน จากตัวอย่างประชากร 136 คน โดยแบ่งเป็นหัวหน้าตึก 68 คน และพยาบาลคู่ประเมิน 68 คน ตัวอย่างประชากรนี้จะปฏิบัติงานอยู่ในตึกที่ให้การพยาบาลโดยตรงแก่ผู้ป่วย จากโรงพยาบาลทั่วไปในกรุงเทพมหานคร 5 แห่ง และโรงพยาบาลจิตเวช 1 แห่ง นำคะแนนจากการประเมินมาคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ตามสูตรของเพียร์สัน และสูตรของสเปียร์แมน บราวน์ ได้ค่าความเที่ยงเฉลี่ยของผู้ให้คะแนน 0.60 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ความเที่ยงภายใน 0.98 และ 0.96 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ค่าคะแนนเฉลี่ย รวม 42.94 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม 8.32 สรุปได้ว่า ข้อรายการลักษณะการปฏิบัติการพยาบาลในแบบสำรวจนี้มีความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามสภาพและความเที่ยงภายในอยู่ในเกณฑ์สูงเพียงพอ มีข้อรายการครอบคลุมตามขอบเขตความหมายการพยาบาล 5 หมวด ที่ใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบสำรวจนี้ The purpose of this study was to develop an evaluative inventory for nursing practice. This study was begun with 72 statements of nursing action and 385 statements of observable nursing nursing behavior, constructed from five characteristics of nursing defined by the researcher: they were (1) แฟพำม (2)prevention, (3)promotion, (4) restoration, ad (5) collaboration. 1.Testing content validity of the instrument by accepted statements of more than 80 percent confirming to the openion of 4 nursing educators and 23 nursing service administrators, then there were 72 statements of nursing action and 377 statements of observable nursing behavior remained at the end of this process. 2.Checking concurrent validity of the instrument by applying of the Pearson’s product moment correlation coefficient formula and the sample were 35 staff nurses selected by a simple random sampling method which they were rated by both 7 head nurses and 4 raters (nurse instructors). The comcurrent validity was 0.94 which is significant at the 0.01 level. 3.Checking scorer’s consistency and internal reliability by applying Pearson’s product moment correlation coefficient formula and head nurses and staff nurses selected by a simple random sampling method from five general hospitals and one psychiatric hospital in Bangkok Metropolis. The scorer’s consistency was 0.06 which is significant at the 0.01 level. The Split-half method showed the internal reliability of 0.98 and of 0.96 which are significant at the 0.01 level. In addition, the ari-thematic mean and the standard deviation of this evaluative inventory rated by the standard diviation of this evaluative inventory rated by the sample were 42.84 and 8.32 respectively. Finally, the evaluative inventory of nursing practice consisted of 72 statements of nursing action which covered five characteristics of nursing as presented above with high the validity and reliability. 2012-05-21T15:59:43Z 2012-05-21T15:59:43Z 2521 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19821 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 492155 bytes 849701 bytes 2228676 bytes 586776 bytes 2917739 bytes 759999 bytes 2661430 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย