ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เกล็ดแก้ว ร่วงลือ
Other Authors: อุ่นตา นพคุณ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19828
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.19828
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด -- การบริหาร
ความพอใจในการทำงาน
spellingShingle ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด -- การบริหาร
ความพอใจในการทำงาน
เกล็ดแก้ว ร่วงลือ
ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528
author2 อุ่นตา นพคุณ
author_facet อุ่นตา นพคุณ
เกล็ดแก้ว ร่วงลือ
format Theses and Dissertations
author เกล็ดแก้ว ร่วงลือ
author_sort เกล็ดแก้ว ร่วงลือ
title ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
title_short ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
title_full ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
title_fullStr ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
title_full_unstemmed ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
title_sort ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19828
_version_ 1681412116915945472
spelling th-cuir.198282012-06-23T07:29:07Z ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด Job satisfaction of officers in provincial non-formal education centers เกล็ดแก้ว ร่วงลือ อุ่นตา นพคุณ ปาน กิมปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด -- การบริหาร ความพอใจในการทำงาน วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดตามตัวแปร เพศ อายุราชการ วุฒิ ภูมิลำเนา และเขตพื้นที่ที่ปฏิบัติงานที่ต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่มีอายุราชการตั้งแต่ 6 เดือน เต็มขึ้นไป จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด 50 ศูนย์ จำนวน 800 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดในเรื่องต่าง ๆ 12 ด้านด้วยกัน ซึ่งองค์ประกอบทั้ง 12 ด้านนี้ได้จากการรวมปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนตามทฤษฏีของเฟรดเตอริคเฮอร์ซเบอร์กเข้าด้วยกัน แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ (Check-list) และ แบบเติมคำ จำนวน 7 ข้อ แบบมาตรส่วนประเมินค่า (Rating-Scale) จำนวน 60 ข้อและแบบปลายเปิด (Open Ended) เก็บรวบรวมข้อมูบโดยผู้วิจัยส่งแบบสอบถามไปยังศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดทั้ง 50 ศูนย์ โดยทางไปษณีย์ และบางส่วนเก็บด้วยตนเอง ได้รับแบสอบถามคืนมา 757 ชุด แบบสอบถามใช้ได้ 737 ชุด คิดเป็นร้อยละ 92.13 นำผลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างระหว่าวคู่ โดยใช้วิธีของ เซฟเฟ (Schaffer Multiple Range test) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSX (The Statistical Package for the Social Science) และเครื่องคิดเลข สรุปผลการวิจัย 1.เจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดมีความพึงพอใจในการทำงานในด้านความปลอดภัยในการทำงาน และด้านความรับผิดชอบอยุ่ในระดับมาก เจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดมีความพึงพอใจในการทำงานอยู่ในด้านต่าง ๆ อยู่ในระดับปานกลางตามลำดับของความพึงพอใจ คือ ด้านความมั่นคงในชีวิตราชการ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน ด้านลักษณะของงาน ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านสภาพการทำงาน ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านนโยบายและการบริหาร ด้านเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล 2.ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดระหว่างเพศชายกับเพศหญิง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านนการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงาน ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งการงาน ด้านเงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านความปลอดภัยในการทำงาน และด้านความมั่นคงในชีวิตราชการ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการทำงาน ปรากฏว่าว เพศชายมีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเพศหญิงทุกด้านที่กล่าวมา 3.ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่มีอายุราชการ 6 เดือนเต็ม -4 ปี กับอายุราชการ 4 ปีขึ้นไป มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน และด้านความมั่นคงในชีวิตราชการ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการทำงาน ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ที่มีอายุราชการ 4 ปีขึ้นไป มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่มีอายุราชการตั้งแต่ 6 เดือนเต็ม – 4 ปี ทุกด้านที่กล่าวมา 4.ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี กับวุฒิปริญญาตรีหรือสูงกว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงาน ความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านสภาพการทำงาน และด้านความปลอดภัยในการทำงาน เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการทำงาน ปรากฏว่า เจ้าหน้าที่ที่วุฒิปริญญาตรีหรือสูงกว่ามีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรีทุกด้านที่กล่าวมา 5.ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาเดิมกับที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาอื่น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน และด้านสภาพการทำงาน เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาอื่นทุกด้านที่กล่าวมา 6.ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกานอกโรงเรียนจังหวัดที่ปฏิบัติงานในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ได้ผลดังนี้ 6.1ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหนาที่ศูนย์การศึกษาภายนอกโรงเรียนจังหวัดทั้ง 4 กลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความสำเร็จของงานเมื่อทดสอบความแตกต่างของแต่ละกลุ่มเป็นรายคู่ ปรากฏว่า ไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะสรุปพาดพิงได้ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 6.2ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดทั้ง 4 กลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านนโยบายและการบริหาร เมื่อทดสอบความแตกต่างของแต่ละกลุ่มเป็นรายคู่ ปรากฏว่า ไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะสรุปพาดพิงได้ว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 6.3ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดทั้ง 4 กลุ่ม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในด้านความมั่นคงในชีวิตราชการ เมื่อทดสอบความแตกต่างของแต่ละกลุ่มเป็นรายคู่พบว่า เจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคกลาง แต่ภาคใต้กับภาคกลางมีความพึงพอใจในกาทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในการทำงาน ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาคใต้ มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง 6.3.18ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่แตกต่างกันระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับภาคกลาง ด้านความั่นคงในชีวิตราชการ เมื่อวิเคราะห์ค่าที่แยกตัวแปร เพศ อายุราชการ วุฒิ และภูมิลำเนา พบว่ามมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ทุกตัวแปร คือ เจ้าหน้าที่เพศลชายและเพศหญิงที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่เพศชายและเพศหญิงปฏิบัติการในภาคกลาง เจ้าหน้าที่มีอายุราชการ 6 เดือนเต็ม – 4 ปั และที่มีอายุราชการตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไปที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง เจ้าหน้าที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรีและวุฒิปริญญตรีหรือสูงกว่าที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความพึงพอใจในการทำงานมากที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาเดิมและปฏิบัติงานในภูมิลำเนาอื่นที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหนที่ที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาเดิมและปฏิบัติงานในภูมิลำเนาอื่นที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง แสดงว่าความพึงพอใจในการทำงานนอกจากจะแตกต่างกันระหว่างภาคแล้ว ยังมีความแตกต่างกันระหว่างเพศ อายุราชการ วุฒิ และภูมิลำเนาด้วย 6.3.2ความพึงพอใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดที่แตกต่างกันระหว่างภาคใต้กับภาคกลาง ด้านความมั่นคงในชีวิตราชการเมื่อวิเคราะห์ค่าทีแยกตัวแปร เพศ อายุราชการ วุฒิ และภูมิลำเนา พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือ เพศชายที่ปฏิบัติงานในภาคใต้มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเพศหญิงที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง เจ้าหน้าที่ที่มีอายุราชการ 4 ปีขึ้นไปที่ปฏิบัติงานในภาคใต้มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่มีอายุราชการ 6 เดือนเต็ม – 4 ปีที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง เจ้าหน้าที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรีและปริญญาตรีหรือสูงกว่าที่ปฏิบัติงานในภาคใต้ มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่มีวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรีและปริญญาตรีหรือสูงกว่าที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภูมิลำเนาเดิมและปฏิบัติงานในภูมิลำเนาอื่นที่ปฏิบัติงานในภาคใต้มีความพึงพอใจในการทำงานมากกว่าเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในภาคกลาง แสดงว่าความพึงพอใจนอกจากจะแตกต่างกันระหว่างภาคแล้ว ยังมีความแตกต่ากันระหว่าง เพศ อายุราชการ วุฒิ และภูมิลำเนาด้วย Purpose of the Study 1.To study the level of job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers. 2.To Compare job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers according to different variables of six, years in government work, educational degree, birthplace and geographical region of work. Procedure of Research and Data Analysis The sample that was used in this research was 800 provincial officers in the Non-Formal Education Centers, who have had at least 6 month of work experience from 50 Non-Formal Education Centers. The research instrument used in this research was a questionnaire about the opinions of the officers in Provincial Non-Formal Education Centers which included 12 motivation and hygiene factor of Frederick Herzberg’s theory. About 7 questions of the questionnaire were check-list and blank to fill word, and about 60 question were rating-scale and open-ended. The questionnaires were constructed and sent to 50 Non-Formal Education Center by post and some were collected by the researcher. Seven hundred and fifty-seven were returned, but only seven hundred and thirty-seven or 92.13 percents. The obtained data were then analyzed in terms of percentages means and standard derivations. The t-test and One-way Analysis of Variance were also employed to determine the level of significant difference. The difference between various groups were tested by Schaffer Multiple Range test. All data were analyzed by using the Statistical Package for the Social Science (SPSSX) and calculator. Research Finding 1.The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers which were considered of the “good” level were: job security and responsibility. However, security in governmental work, achievement, interpersonal relationship among peers, advancement, nature of work, recognition, working conditions, interpersonal relationship with superiors, policy and administration and the salary and fringe benefits, were at the “middle” level. 2.The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers between male and female were significantly different at the .05 level on recognition, nature of work, advancement, the salary and fringe benefits, interpersonal relationship among peers, working conditions, job security and security in governmental work. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of male was higher than job satisfaction of female. 3.The job satisfaction of officers in Provincial Non-formal Education Centers between those officers who had worked 6 months to 4 years and those who had worked for over 4 years, were significantly different at the .05 level on achievement, working conditions and security in governmental work. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of officers who had worked for over 4 years were higher than those officers who had worked 6 months to 4 years. The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers between those who had degrees lower than a Bachelor’s degree and those who had a Bachelor’s degree were significantly different at the .05 level on recognition, nature of work, responsibility, advancement, working conditions and job security. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of officers who hold a Bachelor’s degree were higher than those who hold a degree lower than Bachelor’s degree. 5.The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers between those who worked in their birthplace and those who worked in other town were significantly different at the .05 level on interpersonal relationship among peers and working conditions. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of those who worked in their birthplace were higher than those who worked in other town. 6.The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers who worked in the North region, the North-Eastern region, the Central region and the Southern region of Thailand were as followed: 6.1The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers from all four groups were significantly different at the .05 level on achievement. Testing the difference between pair of groups found that there was not enough evidence to conclude that it was significantly different at the .05 level. 6.2The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers from all groups were significantly different at the .05 level on policy and administration. Testing the different between pair of groups found that there was not enough evidence to conclude that it was significantly different at the .05 level. 6.3The job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers form all four groups were significantly different at the .05 level on security in governmental work. Testing the different between pair of groups found that the job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Centers between the North-Eastern region and the Central region, and between the South region and the Central region were significantly different at the .05 level. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of officers who worked in the north-Eastern region and in the Southern region were higher than those who worked in the Central region. 6.3.1The difference between job satisfaction of officers in Provincial Non-Formal Education Center who worked in the North-Eastern region and those who worked in the Central region in the area of security in governmental work was tested by using the t-test to test the variables of six, year in government work, educational degree and birthplace. It was found that all the variables were significantly different at the .05 level. Considering the mean of job satisfaction it was found that job satisfaction of male and female who worked in the North-Eastern region were higher than those who worked in the Central region. Job satisfaction of officers who worked 6 months to 4 years and who worked overed 4 years worked in the North-Eastern region were higher than those who worked 6 months to 4 years and and those who worked overs 4 years, worked in the Central region. Job satisfaction of officers who had degree lower than a Bachelor’s degree and those who had a Bachelor’ s degree, worked in the North-Eastern region were higher than those who had degree lower than a Bachelor’s degree and those who had a Bachelor’s degree, worked in the Central region. Job satisfaction of officers who worked in their birthplace and those who worked in other town, worked in the North-Eastern region, were higher than those who worked in their birthplace and those who worked in other town, worded in the Central region. It showed that apart from being significantly different among the regions, it was still significantly different among the variables in sex, years in government work, educational degree and birthplace. 6.3.2The difference between job satisfaction of officers in the Provincial Non-Formal Education Centers who worked in the Southern region and those who worked in the Central region in the area of security in governmental work was tested by using t-test to test the variables of sex, years in government work, educational degree and birthplace. It was found that the variables were significantly different at the .05 level. Considering the mean of job satisfaction, it was found that job satisfaction of male who worked in the Southern region was higher than female who worked in the Central region. Job satisfaction of officers who had worked over 4 years, worked in the Southern region were higher than those who had worked 6 months to 4 years, worked in the Central region. Job satisfaction of officers who had degree lower than a Bachelor’s degree and those who had a Bachelor’s degree worked in the Southern region, were higher than those who had degree lower than a Bachelor’ s degree and those who had a Bachelor’s degree worked in the Southern region, Job satisfaction of officers who worked in their birthplace and those who worked in other town, worked in the Southern region were higher than those who worked in their birthplace and those who worked in other town, worked in the Central region. It showed that apart from being significantly different among the regions, it was still significantly different among the variables in sex, years in government work, educational degree and birthplace. 2012-05-21T22:39:07Z 2012-05-21T22:39:07Z 2528 Thesis 9745649554 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19828 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 833159 bytes 411310 bytes 1325003 bytes 478680 bytes 1275271 bytes 1132613 bytes 785105 bytes application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย