วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19870 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.19870 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
ระนาดทุ้ม อุทัย แก้วละเอียด เครื่องดนตรีไทย เพลงกราวใน |
spellingShingle |
ระนาดทุ้ม อุทัย แก้วละเอียด เครื่องดนตรีไทย เพลงกราวใน นตทนันทิ เจริญ วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
บุษกร บิณฑสันต์ |
author_facet |
บุษกร บิณฑสันต์ นตทนันทิ เจริญ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
นตทนันทิ เจริญ |
author_sort |
นตทนันทิ เจริญ |
title |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
title_short |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
title_full |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
title_fullStr |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
title_full_unstemmed |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
title_sort |
วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19870 |
_version_ |
1681411804773744640 |
spelling |
th-cuir.198702012-05-22T16:20:03Z วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน : กรณีศึกษา ครูอุทัย แก้วละเอียด Musical analysis of Krawnai for ranadthum solo : a case study of Kru Uthai Keolaiad นตทนันทิ เจริญ บุษกร บิณฑสันต์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ ระนาดทุ้ม อุทัย แก้วละเอียด เครื่องดนตรีไทย เพลงกราวใน วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 วิทยานิพนธ์เรื่องวิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวในกรณีศึกษา คุณครูอุทัย แก้วละเอียด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องกับเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน เพื่อวิเคราะห์กลวิธีพิเศษและลีลาท่วงทำนองที่พบในเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน และเพื่อศึกษาความโดดเด่นของทางเดี่ยวระนาดทุ้ม เพลงกราวใน โดยผู้วิจัยเลือกทำการศึกษาเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน สามชั้น ซึ่งเป็นทางที่คุณครูอุทัย แก้วละเอียด ได้รับการถ่ายทอดโดยตรงจากครูสาลี่ มาลัยมาลย์ เพื่อใช้บรรเลงในการประชันในนามวงมาลัยมาลย์ และได้นำมาบรรเลงอีกหลายครั้งในโอกาสต่อๆมา อีกทั้งทางเดี่ยวทางนี้ยังมิได้มีผู้ใดนำมาวิเคราะห์ ในการ ทำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลเอกสาร การสัมภาษณ์ และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมีการนำเสนอข้อมูลแบ่งออกเป็น 5 บท ได้ผลสรุปดังนี้ จากการวิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวในกรณีศึกษาคุณครูอุทัย แก้วละเอียด พบว่ามี ลูกโยนจำนวน 6 กลุ่มเสียง และทำนองเนื้อแท้ 1 กลุ่ม เริ่มจาก ลูกโยน โด ลูกโยน เร ทำนองเนื้อแท้ ลูกโยน ที ลูกโยน มี ลูกโยน ลา ลูกโยน ฟา และทำนองลงจบ โดยลูกโยนเสียง โด มีความยาวมากที่สุด ระดับเสียง ที่พบได้แก่ ทางนอก ทางใน ทางกลางแหบ และทางกลาง กลวิธีพิเศษต่างๆที่พบได้แก่การตีสะบัด การตีสะเดาะ การตีกระทบ การตีดูด การตีขยี้ การตีหวาน การตีล่วงหน้า การตีลูกย้อยจังหวะ การตีลักจังหวะ การตีทำนองคล้ายคอร์ดฝรั่ง การตีเตะในลักษณะตีสวนและตีตาม และ การหยุดเสียง ทางเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน ทางนี้ มีลักษณะที่โดดเด่นอยู่หลายประการอันได้แก่ กลวิธีพิเศษและสำนวนทำนองที่โดดเด่นซึ่งปรากฏในทางเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงกราวใน ประกอบด้วย การขยี้ การลักจังหวะ การตีทำนองฝรั่ง การสะเดาะ การสัมผัสเสียง การเปลี่ยนบันไดเสียง และสำนวนทำนอง ที่มีจังหวะในตัวเอง นอกจากนั้นยังมีท่วงทำนองที่เน้นมือซ้ายเป็นหลักในการดำเนินทำนอง การประคบมือให้มีเสียงหนับ หนอด สำนวนทำนองที่ต้องใช้ความคล่องแคล่ว ความแม่นยำในจังหวะ และตำแหน่ง ของเสียง แสดงให้เห็นถึงความโลดโผน รุกเร้า และสนุกสนานได้เป็นอย่างดี อีกทั้งท่วงทำนองมีความยาวและความซับซ้อนต้องใช้พละกำลังและสติปัญญาในการจดจำเป็นอย่างมาก เป็นการแสดงให้เห็น ถึงความสามารถของผู้บรรเลงได้เป็นอย่างดี This research is entitled A Musical Analysis of Krawnai for Ranadthum Solo: A Case Study of Kru Uthai Keolaiad. The objectives of the research are to study the contexts of Krawnai Ranadthum solo, to analyze special techniques, and to study special features in musical elements of Krawnai Ranadthum solo. Never been analyzed before, this particular version of Krawnai solo is the Krawnai Sam Chun solo, which was directly passed on to Kru Uthai Keolaiad by Kru Salee Malaimarn in occasion of a musical competition. Kru Uthai performed this solo piece regularly later on. The research methodology includes collecting documents, interviews, and participant observations. The results of the study, presented in five chapters, are summarized as follows. There are six groups of Lukyon and one main melody in the following succession: Lukyon-Do, Lukyon-Re, the main melody, Lukyon-Ti, Lukyon-Mi, Lukyon-La, Lukyon-Fa, and the ending part. The scales found throughout the piece are Thang Nork, Thang Nai, Thang Klang-hab and Thang Klang. Special techniques include tee sabad (triplet) , tee sadau (one-pitch triplet), tee kratop (two-pitch stroke), tee dood (muffling), tee kayee (eight-syllable stroke), tee wan (melodramatic tremolo), tee laung naa (anticipating), tee look yoi changwa (retarding) , tee lak changwa (synchropating), tee chord farang (western harmony pattern), tee tae (four-syllable stroke), and yud siang (muting) Unique features of the piece are its complicated repeated melody, reduced melody and off-beat melody. Left hand plays a major role in this piece, and it is particularly important to practice a technique called Prakob-mue. The length of the piece required a cumulative practice to enhance musician’s endurance. In addition, performing the piece requires a dexterous Ranadtum player, who possesses mastery skills of agility and accuracy of timing and position of the keys. The study of the contexts and musical elements shows that this particular Kraw Nai for Ranadtum solo is an important solo piece with valuable musical elements, and is admirable to perform. 2012-05-22T16:15:55Z 2012-05-22T16:15:55Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19870 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2014054 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |