พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี

วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พัชรี ทองอำไพ
Other Authors: พนิต ภู่จินดา
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20096
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20096
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
description วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 พนิต ภู่จินดา
author_facet พนิต ภู่จินดา
พัชรี ทองอำไพ
format Theses and Dissertations
author พัชรี ทองอำไพ
spellingShingle พัชรี ทองอำไพ
พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
author_sort พัชรี ทองอำไพ
title พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
title_short พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
title_full พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
title_fullStr พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
title_full_unstemmed พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
title_sort พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20096
_version_ 1681410641158471680
spelling th-cuir.200962012-06-06T14:59:01Z พัฒนาการของชุมชนบริเวณสะพานเลียบชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี Development of communities by beachside bridge, Chonburi พัชรี ทองอำไพ พนิต ภู่จินดา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการ ปัจจัยและผลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของชุมชนเลียบชายฝั่งทะเล ที่มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงเวลา วิธีดำเนินการศึกษาประกอบด้วย 1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบโครงข่ายการสัญจร การใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร รูปแบบความหนาแน่นของมวลอาคารต่อพื้นที่ว่าง 2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับองค์ประกอบทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน การศึกษาการเปลี่ยนแปลงถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่วงเวลา ตามการเปลี่ยนแปลงสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ช่วงเวลาที่ 1 (พ.ศ. 2495-พ.ศ.2511) ชุมชนชายทะเลมีระบบเศรษฐกิจประมงเพื่อการยังชีพและพึ่งพาอาศัยกันแบบเครือญาติ การเดินทางหลักเป็นการสัญจรเลียบชายฝั่งทางน้ำ มีถนนวชิรปราการ ที่ยังคงเป็นถนนเส้นเล็ก ๆ เชื่อมโยงภายในชุมชนเท่านั้น มีกิจกรรมการค้าและการบริการขนาดกะทัดรัด กระจุกตัวด้วยมวลอาคารขนาดเล็ก ในปี พ.ศ. 2512-พ.ศ.2547 มีการเปิดให้บริการถนนสุขุมวิทซึ่งเป็นถนนสายหลักของประเทศ เกิดรูปแบบการตั้งถิ่นฐานเป็นแนวยาวริมถนนสายหลัก ประชากรในชุมชนประกอบอาชีพการค้าการบริการที่หลากหลาย เป็นสังคมครอบครัวเดี่ยวและมีคนกลุ่มใหม่เข้ามาในชุมชนเพิ่มมากขึ้น การใช้ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น พื้นที่ว่างมีน้อยลง จาก พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบันมีการเปิดใช้สะพานเลียบชายฝั่งทะเล เพื่อลดความแออัดจากการจราจรผ่านเมืองและส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน พบว่าไม่ส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพของชุมชนมากนัก แต่ช่วยอำนวยความสะดวกในการเดินทางของคนในชุมชนและตลาดประมงชายฝั่ง งานวิจัยฉบับนี้ได้เสนอแนะว่า หน่วยงานของรัฐควรส่งเสริมการท่องเที่ยว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การปรับปรุงภูมิทัศน์ ตลอดจนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า รวมทั้งควรมีการศึกษาองค์ประกอบของเมืองเก่าที่เป็นชุมชนชายฝั่งทะเล ผลที่ได้รับควรถูกนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาชุมชนชายฝั่งทะเลต่อไป The objective of this research intends to study the development, factors and effects of changes in coastal community where its roles have been changed from the beginning point to present. The research methods include 1) studying of the the change of transport network pattern, land and building use pattern, and figure and ground pattern. 2) Analysis of the relationship among the factors that lead to change in the physical and socio-economic of the community. The development study is divided into 3 periods, according to 3 major changes in socio-economic pattern of the community. In the first period (between 1952 and 1968), the community’s economy was subsistent fishery with closely kinship relations. Waterway along the coast was the major traveling line. Wachiraprakarn Road was still a narrow street which was only used for local linkages. There were compact commercial areas in small building. Between 1969 and 2004, (the second period), Sukhumwit National Highway came onto services and led to the new ribbon development. Residents in the community had gradually changed their occupation to several commercial and service jobs. Single families and newly dweller were increased by that situation. After 2005, (the 3rd period), the beachside bridge was opened in order to mitigate traffic confession in Chonburi’s city center and to facilitate the city’s tourism industry. The results of study indicated that this bridge has not affected any changes in the community’s physical characters. However, it accommodates local linkages and coastal fishery market. At the end, this research suggests that government organizations should play a major role in promoting the community tourism, infrastructure development, landscape improvement and architectural conservation. In addition, there should be the intensive studies of the identity of its coastal and fishery community’s characters. The result cloud be the essential information for planning of coastal communities in the future. 2012-06-06T14:52:07Z 2012-06-06T14:52:07Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20096 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3541970 bytes application/pdf application/pdf ชลบุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย