การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20097 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.20097 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
เขมรัฐ โอสถาพันธุ์ |
author_facet |
เขมรัฐ โอสถาพันธุ์ ปิยะพงษ์ เรืองฤาหาร |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ปิยะพงษ์ เรืองฤาหาร |
spellingShingle |
ปิยะพงษ์ เรืองฤาหาร การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
author_sort |
ปิยะพงษ์ เรืองฤาหาร |
title |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
title_short |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
title_full |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
title_fullStr |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
title_full_unstemmed |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
title_sort |
การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (iii) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (ii) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20097 |
_version_ |
1681409752684298240 |
spelling |
th-cuir.200972012-06-06T14:54:03Z การกำจัดเฮกซะไชยาโนโคบอลเตต (III) และเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต (II) โดยกระบวนการออกซิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ Removal of hexacyanocobaltate (III) and Tetracyanonickelate (II) by oxidation using ultraviolet with titanium dioxide ปิยะพงษ์ เรืองฤาหาร เขมรัฐ โอสถาพันธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การทำวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาการกำจัดไซยาไนด์และสารประกอบไซยาไนด์โดยใช้กระบวนการออกชิเดชันด้วยรังสีอัลตราไวโอเลตร่วมกับไทเทเนียมไดออกไซด์ ทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ และความสามารถในการกำจัดไซยาไนด์ ด้วยการแปรค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ โดยแปรค่าพีเอช (9.5 10.5 12.0) ความเข้มข้นเริ่มต้นของไซยาไนด์และสารประกอบไซยาไนด์ (100 500 1,000 ไมโครโมลาร์) ความเข้มข้นของไทเทเนียมไดออกไซด์ (0.1 0.5 1.0 1.5 2.0 กรัมต่อลิตร) และอัตราการเติมอากาศ (0.5 1.0 2.0 ลิตรต่อนาที) ผลการทดลองสามารถแบ่งได้เป็นดังนี้ การศึกษาการออกซิไดซ์ไซยาไนด์อิสระโดยสภาวะที่เหมาะสมในการออกซิไดซ์สารไซยาไนด์อิสระ คือความเข้มข้นของไทเทเนียมไดออกไซด์ 1.0 กรัมต่อลิตร พีเอชเท่ากับ 9.5 อัตราการเติมอากาศ 0.5 ลิตรต่อนาที โดยใช้เวลาในการกำจัดไซยาไนด์ให้เหลือ 100.00 % ในเวลา 180 นาที โดยการออกซิไดซ์สารไซยาไนด์จะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมีความเข้มข้นต่ำที่ 100 ไมโครโมลาร์ แต่เนื่องจากไซยาไนด์อิสระมีความเป็นพิษสูงดังนั้นการเลือกสภาวะที่พีเอชสูงจะช่วยให้ปลอดภัยจากก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์ ดังนั้นในการนำมาประยุกต์ใช้ควรเลือกที่พีเอช 12.0 การศึกษาการออกซิไดซ์สารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตต โดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดสารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตต ในน้ำเสียสังเคราะห์ คือความเข้มข้นของไทเทเนียมไดออกไซด์ 1.5 กรัมต่อลิตร พีเอชเท่ากับ 12.0 อัตราการเติมอากาศ 0.5 ลิตรต่อนาที โดยสามารถกำจัดสารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตตได้ 31.76 % ในเวลา 180 นาที การออกซิไดซ์สารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตตจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมีความเข้มข้นต่ำที่ 100 ไมโครโมลาร์ การศึกษาการออกซิไดซ์สารประกอบเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต โดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดสารประกอบเตตระไซยาโนนิกเกิลเลต ในน้ำเสียสังเคราะห์ คือความเข้มข้นของไทเทเนียมไดออกไซด์ 1.5 กรัมต่อลิตร พีเอชเท่ากับ 12.0 อัตราการเติมอากาศ 0.5 ลิตรต่อนาที โดยสามารถกำจัดสารประกอบเตตระไซยาโนนิกเกิลเลตได้ 66.12 % ในเวลา 180 นาที การออกซิไดซ์สารประกอบเตตระไซยาโนนิกเกิลเลตจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมีความเข้มข้นต่ำที่ 100 ไมโครโมลาร์ การศึกษาการออกซิไดซ์สารประกอบผสม [เตตระไซยาโนนิกเกิลเลตและสารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตต] โดยสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดสารประกอบผสม คือความเข้มข้นของไทเทเนียมไดออกไซด์ 1.5 กรัมต่อลิตร พีเอชเท่ากับ 12.0 อัตราการเติมอากาศ 0.5 ลิตรต่อนาที โดยสามารถกำจัดสารประกอบผสม [เตตระไซยาโนนิกเกิลเลตและสารประกอบเฮกซะไซยาโนโคบอลเตต] ได้ 42.62 % ในเวลา 180 นาที การออกซิไดซ์สารประกอบผสม จะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อมีความเข้มข้นต่ำที่ 100 ไมโครโมลาร์ This research is to study about removal of hexacyanocobaltate and tetracyanonickelate by oxidation using ultraviolet with titanium dioxide. To compare and efficiency in the removal of cyanide by changing parameter. To set up pH (9.5 10.5 12.0). The beginning level of cyanide and cyanide-complex (100 500 1,000 micro-molar). The level of titanium dioxide (0.1 0.5 1.0 1.5 2.0 gram per liter) and air flow rate (0.5 1.0 2.0 liter per minute). The result of experiment can be summarized as follow: The study of cyanide oxidation in the situation that is proper for cyanide oxidation, is the level of titanium dioxide 1.0 gram per liter, pH is 9.5. Air flow rate is 0.5 liter per minute with using time for cyanide removal as 100% in 180 minute. Cyanide oxidation can occur well in low level is 100 micro-molars. But cyanide has high level so selecting high pH can be safe from hydrogen-cyanide. Then the implementation should select pH as 12.0. The study of heacyanocobaltate oxidation in situation that is proper for hexacyanocobaltate removal in synthetic watsewater, is the level of titanium dioxide 1.5 gram per liter, pH is 12.0, air flow rate is 0.5 liter per minute with using time for hexacyanocobaltate removal as 31.76% in 180 minute. Hexacyanocobaltate can occur well in low level at 100 micro-molars. The study of tetracyanonickelate oxidation in situation that is proper for tetracyanonickelate removal in synthetic wastewater, is level of titanium dioxide 1.5 gram per liter. pH is 12.0, air flow rate is 0.5 liter per minute with using time for tetracyanonickelate removal as 66.12% in 180 minute. Tetracyanonickelate oxidation can be occur well in low level at 100 micro-molars. The study of mixture oxidation in situation that is proper for mixture removal in synthetic watsewater, is the level of titanium dioxide 1.5 gram per liter, pH is 12.0, air flow rate is 0.5 liter per minute with using time for mixture removal as 42.62% in 180 minute. Mixture oxidation can be occur well in low level at 100 micro-molars. 2012-06-06T14:54:02Z 2012-06-06T14:54:02Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20097 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2622421 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |