การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20172 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.20172 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
description |
วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
อำไพ ตีรณสาร |
author_facet |
อำไพ ตีรณสาร อาฟันดี มะแซสาอิ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อาฟันดี มะแซสาอิ |
spellingShingle |
อาฟันดี มะแซสาอิ การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
author_sort |
อาฟันดี มะแซสาอิ |
title |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
title_short |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
title_full |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
title_fullStr |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
title_full_unstemmed |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
title_sort |
การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20172 |
_version_ |
1681409158202523648 |
spelling |
th-cuir.201722012-06-08T14:38:06Z การศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร A study of artistic expression through drawing and painting of lower secondary school students in schools under the office of The Basic Education Commission, Bangkok Metropolis อาฟันดี มะแซสาอิ อำไพ ตีรณสาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแสดงออกทางศิลปะโดยการวาดภาพระบายสีของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร จำนวน 180 คน โดยใช้วิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสร้างจากหลักเกณฑ์ขั้นพัฒนาการทางศิลปะของ วิคเตอร์ โลเวนเฟลด์ ประกอบด้วย 1. แบบสอบถามสถานภาพส่วนตัว 2. แบบทดสอบการวาดภาพระบายสี 3. แบบประเมินการแสดงออกทางศิลปะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่านักเรียน สามารถแสดงออกทางศิลปะในแต่ละด้านต่างๆดังนี้ 1. ด้านการวาดภาพคน ลักษณะที่แสดงออกมากที่สุด คือ เส้นต่างๆ เพิ่มเติม เพื่อแสดงรายละเอียดของภาพคน และส่วนต่างๆ ของร่างกายให้มีลักษณะคล้ายความเป็นจริงมากขึ้น เช่น แขน ขา ร้อยละ 87.78 รองลงมา คือ ลักษณะเค้าโครงภายนอกมากกว่ารายละเอียดภายในเช่น เค้าโครงของเสื้อผ้าที่ขาด รอยยับย่น ร้อยละ86.67 2. ด้านการจัดวางภาพบนพื้นที่ว่าง ลักษณะที่แสดงออกมากที่สุด คือ การกำหนดระยะตามความเป็นจริงที่เหมาะสมในภาพ ร้อยละ 90.00 รองลงมาคือ การใช้เส้นระดับสายตา การจัดวางภาพ เช่น ท้องฟ้าปกคลุมมาถึงพื้นดินแทนที่จะอยู่ระดับสายตา ร้อยละ 82.22 3. ด้านการใช้สี ลักษณะที่แสดงออกมากที่สุดคือ ใช้สีตามความคิดและประสบการณ์ ร้อยละ 86.67 รองลงมาคือ มีการผสมสีและระบายสีเพื่อแสดงมิติ หรือตามสภาพของวัตถุ ร้อยละ 85.00 4. ด้านการออกแบบ ลักษณะที่แสดงออกมากที่สุด คือ ลักษณะของการประดิษฐ์ตกแต่งรายละเอียดส่วนประกอบในภาพ ร้อยละ 87.22 นอกจากนี้ ยังพบว่ามีลักษณะอื่น ๆ ที่ปรากฎ ซึ่งมีแนวโน้มว่าสูงกว่าขั้นพัฒนาการขั้นที่ 5 ทั้ง 4 ด้าน คือ 1) ด้านการวาดภาพคน สิ่งที่นักเรียนแสดงออกมากที่สุดคือ วาดภาพคล้ายการ์ตูน 2) ด้านการใช้พื้นที่ว่าง สิ่งที่นักเรียนแสดงออกมากที่สุด คือ มีการจัดวางภาพที่ซ้อนกันหลายระยะ 3) ด้านการใช้สี สิ่งที่นักเรียนแสดงออกมากที่สุด คือ การใช้สีที่ใกล้เคียงธรรมชาติ และการใช้สีที่แบ่งโทนที่แสดงถึงระยะใกล้ไกล 4) ด้านการออกแบบ สิ่งที่นักเรียนแสดงออกมากที่สุด คือ มีเรื่องราวที่สะท้อนสิ่งแวดล้อมและสังคม และมีการออกแบบตามความหลักเป็นจริง The objective of this research was to study the artistic expression through drawing and painting of the lower secondary school students in schools under the Office of Basic Education Commission, Bangkok Metropolis. The sampling group included 180 students in grade 7 to 9 by means of multistage-sampling. The research instruments were based on the Artistic Developmental Theory of Viktor Lowenfeld. The research findings showed that the artistic expression of students through drawing and painting are at the fifth stage of the artistic developmental theory of Lowenfeld which are the followings: 1. Human figure: the highest percentage of the students’ drawings and paintings is to show the details and realistic appearance of human figure (87.78%), and next, the students express the external shape of human figure in their drawing (86.67%). 2. Space and Composition: 90 % of them show the realistic distance of the compositions suitably with the painting, and next, 56.11% of the students show the proper size of objects in accordance with compositions and space. 3. Color: 86.67% of the students use the color based on their ideas and experiences, and next, 80.56% use the color for showing the dimensions in their painting. 4. Design: 87.22% of the students show their abilities of decorating some details into the compositions, and next, 68.89% of them express their knowledge of particular figure of other compositions such as the bracelet. Moreover, the research provides some remarks: there are other characteristics in artistic expression which can be considered to be higher than the fifth developmental stage. The mentioned characteristics included: 1) Human Figure: the look-alike cartoon of human figure is mostly shown in the students’ expressions. 2) Space: most of their expressions are the use of multiple layers in the compositions. 3) Color: the students express the realistic tone of color, and the ability to use different tone of color for showing the distance in compositions. 4) Design: the students reflect their social life and environment in their works, and the ability to express their design capabilities in artistic works based on realistic design. 2012-06-08T14:38:05Z 2012-06-08T14:38:05Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20172 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1964994 bytes application/pdf application/pdf กรุงเทพมหานคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |