ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ

วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศศิธร นวเลิศปรีชา
Other Authors: อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20265
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20265
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์
ภาษากูย
กูย -- ไทย -- ศรีสะเกษ
spellingShingle อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์
ภาษากูย
กูย -- ไทย -- ศรีสะเกษ
ศศิธร นวเลิศปรีชา
ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
author2 อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
author_facet อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
ศศิธร นวเลิศปรีชา
format Theses and Dissertations
author ศศิธร นวเลิศปรีชา
author_sort ศศิธร นวเลิศปรีชา
title ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
title_short ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
title_full ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
title_fullStr ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
title_full_unstemmed ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
title_sort ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20265
_version_ 1681411913948332032
spelling th-cuir.202652012-06-12T14:17:45Z ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย-กวย) ของผู้พูดที่มีอายุต่างกันในจังหวัดศรีสะเกษ System of kinship terms in Suai (Kui-Kuai) spoken by different age groups in Si Sa Ket province ศศิธร นวเลิศปรีชา อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ อรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ ภาษากูย กูย -- ไทย -- ศรีสะเกษ วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ชาวส่วย (กูย-กวย) เป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำโขง ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวันนั้นยังมีผู้ศึกษาอยู่เป็นจำนวนไม่มาก ผลงานวิจัยภาษาส่วย (กูย–กวย) ในอดีตส่วนใหญ่เป็นเรื่องระบบเสียง แต่ยังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย–กวย) เลย วิทยานิพนธ์เล่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่พูดในจังหวัดศรีษะเกษ และวิเคราะห์การแปรของระบบคำเรียกญาติของผู้พูดภาษาส่วย (กูย-กวย) ที่มีอายุต่างกัน โดยใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ ซึ่งเป็นวิธีการศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์ ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้บอกภาษา 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งคือ กลุ่มผู้บอกภาษาที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นตัวแทนของกลุ่มคนที่มีอายุมาก และกลุ่มที่สองคือกลุ่มของผู้บอกภาษาที่มีอายุ 25 ปีลงมา เป็นตัวแทนของกลุ่มคนที่มีอายุน้อย ผลการวิเคราะห์พบว่า ระบบคำเรียกญาติภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่พูดในจังหวัดศรีษะเกษ มีมิติแห่งความแตกต่าง 5 มิติ ได้แก่ รุ่นอายุ สายเลือด อายุ ฝ่ายพ่อ/แม่ และเพศ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน นอกจากนั้นยังพบว่า จำนวนคำเรียกญาติภาษากูยและภาษากวยในจังหวัดศรีษะเกษมีจำนวนที่แตกต่างกัน เพราะชาวกูยและกวยมีการใช้คำเรียกญาติที่แตกต่างกันไป ผลการวิเคราะห์ระบบคำเรียกญาติของผู้พูดภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่มีอายุต่างกันพบว่า ไม่มีการแปรของระบบคำเรียกญาติ เนื่องจากคำเรียกญาติของผู้พูดภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่มีอายุมากและผู้พูดภาษาส่วย (กูย–กวย) ที่มีอายุน้อย มีมิติแห่งความแตกต่าง 5 มิติเหมือนกัน ได้แก่ รุ่นอายุ สายเลือด อายุ ฝ่ายพ่อ/แม่ และเพศ เมื่อพิจารณาจำนวนคำเรียกญาติของผู้พูดภาษาส่วยที่มีอายุมาก และผู้พูดภาษาส่วยที่มีอายุน้อย ผู้วิจัยพบว่าผู้พูดภาษาส่วยที่มีอายุมากใช้คำเรียกญาติทั้งหมดจำนวน 46 คำ และผู้พูดภาษาส่วยที่มีอายุน้อยมีการใช้คำเรียกญาติทั้งหมดจำนวน 39 คำ และลักษณะของคำเรียกญาติที่กลุ่มผู้พูดภาษาส่วย (กูย–กวย) ทั้งสองกลุ่มใช้นั้นก็สามารถจำแนกคำเรียกญาติไดเป็น 6 ลักษณะ ได้แก่ คำเรียกญาติที่สันนิษฐานว่ามาจากภาษาไทยกรุงเทพฯ คำเรียกญาติที่สันนิษฐานว่ามาจากภาษาไทยถิ่นอีสาน คำเรียกญาติที่สันนิษฐานว่ามาจากภาษาเขมรมาตรฐาน คำเรียกญาติที่สันนิษฐานว่ามาจากภาษาเขมรสุรินทร์ คำเรียกญาติภาษาส่วย และคำเรียกญาติที่เป็นคำประสมระหว่างภาษาส่วยและภาษาไทยกรุงเทพฯ อัตราการใช้คำเรียกญาติของผู้พูดทั้ง 2 กลุ่มอายุ แสดงให้เห็นว่า ผู้พูดภาษาส่วยที่มีอายุต่างกันได้รับอิทธิพลจากภาษาไทยกรุงเทพฯ ภาษาไทยถิ่นอีสานและภาษาเขมร ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ และอัตราการใช้คำเรียกญาติดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของภาษาส่วยที่กำลังดำเนินอยู่ (change in progress) เนื่องจากอิทธิพลของภาษาไทยกรุงเทพฯ และภาษาไทยอีสาน Suai (Kui-Kuai) is a minority group living in the Mekong delta in Northeast Thailand. There are very few studies on Suai (Kui–Kuai). Most of the studies deal with phonology and there has been no study on Suai (Kui-Kuai) kinship terms. Thus, this thesis aims to analyze the kinship terms in Suai (Kui-Kuai) spoken in Sisaket Province and variation in the use of those terms in Suai spoken by different age groups. The componential analysis, which is a method in the ethnosemantics, is adopted for the analysis. The data used in this study was gathered by interviewing sixty informants divided into two groups: the old–age group (40 years old up) and the young–age group (lower than 25 years old). The results of this study show that Suai (Kui-Kuai) kinship terms in Sisaket Province are differentiated by five dimensions of contrast: generation, lineality, age, parental link, and sex. It is also found that the number of Kui kinship terms and Kuai kinship terms are different. The analysis of the system of kinship terms used by different age groups reveals that there is no variation in the kinship system. The two age groups use the same system of kinship terms differentiated by the same set of five dimensions of contrast. Concerning the number of kinship terms, it is found that there are 46 kinship terms used by the old–age group and 39 kinship terms used by the young–age group. The kinship terms can be classified into six etymological patterns: 1) kinship terms which are presumed to derive from Standard Thai, 2) kinship terms which are presumed to derive from Northern Thai, 3) kinship terms which are presumed to derive from Standard Khmer, 4) kinship terms which are presumed to derive from Surin Khmer, 5) traditional Suai kinship terms, and 6) Suai–Thai compound kinship terms. The analysis of the frequency of the kinship terms used by the two age groups reveals that Suai speakers of different ages are influenced by standard Thai, Northeastern Thai and Khmer. This supports the hypothesis and it implies the tendency of language change in Suai due to Thai influence. 2012-06-12T14:17:44Z 2012-06-12T14:17:44Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20265 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2302328 bytes application/pdf application/pdf ศรีสะเกษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย