ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2012
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20281 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Chulalongkorn University |
Language: | Thai |
id |
th-cuir.20281 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-cuir.202812012-06-12T14:54:54Z ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน Effect of sludge age on settling efficiency in activated sludge process using ballasting agents ธัญรัตน์ แสงสุวรรณ์ ชัยพร ภู่ประเสริฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ น้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการแบบตะกอนเร่ง การตกตะกอน (เคมี) กากตะกอนน้ำเสีย วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 ศึกษาผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่มีการเติมวัสดุช่วยตกตะกอน 3 ชนิด คือ ทาล ถ่านกัมมันต์ชนิดผง และยางบดละเอียด ลงในถังปฏิกิริยาของระบบเอเอสที่ควบคุมให้มีอายุสลัดจ์ต่างกันคือ 3, 10 และ 30 วัน เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของวัสดุช่วยตกตะกอนทั้ง 3 ชนิด ที่มีผลต่อความเร็วในการตกตะกอนของสลัดจ์ในระบบเอเอส ที่มีอายุสลัดจ์ต่างๆ โดยการวัดค่าความเร็วเริ่มต้นของการตกตะกอน (ไอเอสวี) ศึกษาประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดี และการจับตัวระหว่างฟล็อกกับวัสดุช่วยตกตะกอน โดยนำข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการปรับปรุงและออกแบบถังตกตะกอนในระบบเอเอสต่อไป ผลการวิจัย พบว่า ค่าไอเอสวีของระบบที่เติมทาลสูงกว่าระบบที่เติมถ่านกัมมันต์และยางในทุกๆ ค่าอายุสลัดจ์โดยมีค่าไอเอสวีสูงสุดคือ 10.6 ม./ชม. ค่าไอเอสวีสูงสุดของระบบที่เติมถ่านกัมมันต์และยางมีค่า 7.2 และ 6.6 ม./ชม. ตามลำดับ โดยชุดควบคุมที่ไม่มีการเติมวัสดุช่วยตกตะกอนจะมีค่าไอเอวีต่ำกว่า 5 ม./ชม. และมีค่าไอเอสวีต่ำกว่าในระบบที่เติมวัสดุช่วยตกตะกอนทั้ง 3 ชนิด ในแง่การกำจัดซีโอดีพบว่า ระบบที่เติมถ่านกัมมันต์มีประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีได้สูงที่สุด ซึ่งสูงกว่า 97% มากกว่าระบบที่เติมทาลและยาง และชุดควบคุมที่กำจัดซีโอดีได้ 95% และพบว่าอายุสลัดจ์ของระบบในช่วง 3-30 วัน ไม่มีผลต่อประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดีของระบบที่เติมวัสดุช่วยตกตะกอนอย่างชัดเจน เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะเห็นฟล็อกจุลชีพห่อหุ้มวัสดุช่วยตกตะกอน ฟล็อกมีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าฟล็อกจุลชีพในชุดควบคุม และเห็นการเกาะติดของจุลชีพที่ผิววัสดุช่วยตกตะกอนได้อย่างชัดเจน โดยมีลักษณะการเกาะตัวไม่ต่างกันในแต่ละอายุสลัดจ์ นอกจากนี้ ระบบเอเอสที่เติมวัสดุช่วยตกตะกอนทุกชนิด ยังสามารถช่วยทำให้ถังตกตะกอนมีขนาดเล็กลงได้ในทั้ง 3 อายุสลัดจ์ โดยในระบบที่เติมทาลเป็นวัสดุช่วยตกตะกอนมี Limiting Flux (GL) สูงสุด 1,753 กก./ตร.ม. -วัน ซึ่งส่งผลให้ถังตกตะกอนของระบบที่เติมทาลมีขนาดเล็กที่สุด To study the effect of sludge age on settling efficiency in AS process. Three types of ballasting agent; talc, powder activated carbon (PAC), and crumb rubber were added in the 3 lab-scale AS processes which controlled the sludge age as 3, 10 and 30 days. The initial settling velocity (ISV), COD removal and floc forming were studied in this research. The sedimentation tank can be design by using the ISV results. The experiment found that the talc addition made the highest ISV of 10.6 m/h. The ISV of PAC addition and crumb rubber addition were 7.2 and 6.6 m/h, respectively. On the contrary, in control set, the ISV were lower than 5 m/h that indicated worse settling. However, all of ballasting agent in this experiment made higher ISV than the control without bassasting agent in every condition. Moreover, in the term of COD removal, the result indicated that the highest COD removal more than 97% was achieved in PAC added reactor. In the same way, talc and crumb rubber had COD removal more than 95% in every condition of sludge age. Also, the study of floc formation between ballasting agent and sludge from the microscope and Scanning Electron Microscope (SEM) revealed that 3 agents can agglomerate better floc and no interference with bacterial activities in every sludge age. Moreover, the study discovered the attach of microorganisms on the crust surface of ballasting agents. In the term of sedimentation tank design, the surface area of the tank in the enhance AS by using ballasting agent was decreased, especially in talc addition. As a result, the highest Limiting Flux (GL) of talc, 1,753 kg/cb.m -day made the smallest surface area of the tank. 2012-06-12T14:54:53Z 2012-06-12T14:54:53Z 2552 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20281 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3804984 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
institution |
Chulalongkorn University |
building |
Chulalongkorn University Library |
country |
Thailand |
collection |
Chulalongkorn University Intellectual Repository |
language |
Thai |
topic |
น้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการแบบตะกอนเร่ง การตกตะกอน (เคมี) กากตะกอนน้ำเสีย |
spellingShingle |
น้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการแบบตะกอนเร่ง การตกตะกอน (เคมี) กากตะกอนน้ำเสีย ธัญรัตน์ แสงสุวรรณ์ ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
author2 |
ชัยพร ภู่ประเสริฐ |
author_facet |
ชัยพร ภู่ประเสริฐ ธัญรัตน์ แสงสุวรรณ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ธัญรัตน์ แสงสุวรรณ์ |
author_sort |
ธัญรัตน์ แสงสุวรรณ์ |
title |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
title_short |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
title_full |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
title_fullStr |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
title_full_unstemmed |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
title_sort |
ผลของอายุสลัดจ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการตกตะกอนในระบบเอเอสที่ใช้วัสดุช่วยตกตะกอน |
publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
publishDate |
2012 |
url |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20281 |
_version_ |
1681414101018869760 |