ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กรเทพ สุขยุคล
Other Authors: ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20592
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20592
record_format dspace
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic ทันตกรรมรากเทียม
รอบพิมพ์ทางทันตกรรม
spellingShingle ทันตกรรมรากเทียม
รอบพิมพ์ทางทันตกรรม
กรเทพ สุขยุคล
ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
author2 ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
author_facet ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย
กรเทพ สุขยุคล
format Theses and Dissertations
author กรเทพ สุขยุคล
author_sort กรเทพ สุขยุคล
title ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
title_short ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
title_full ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
title_fullStr ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
title_full_unstemmed ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
title_sort ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20592
_version_ 1681414153230614528
spelling th-cuir.205922012-07-08T04:22:05Z ความเที่ยงตรงของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี The accuracy of the master casts from three different implant impression techniques กรเทพ สุขยุคล ภาณุพงศ์ วงศ์ไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรมรากเทียม รอบพิมพ์ทางทันตกรรม วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 วัตถุประสงค์ การวิจัยนี้เป็นการทดลองเพื่อหาวิธีพิมพ์รากเทียมที่มีความเที่ยงตรงสูงสุด โดยศึกษาจากความคลาดเคลื่อนของแบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์รากเทียม 3 วิธี เมื่อเทียบกับแม่แบบ วัสดุและวิธีการ แบบจำลองจำนวน 30 ชิ้น ถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้วิธีพิมพ์ คือ กลุ่มที่ 1 วิธีพิมพ์โดยไม่ใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดเช่นเดียวกับฟันปลอมติดแน่นบนฟันธรรมชาติ กลุ่มที่ 2 วิธีพิมพ์โดยตรงแบบใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดร่วม และกลุ่มที่ 3 วิธีพิมพ์โดยตรงแบบใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดและทำการเชื่อมติดกับถาดพิมพ์ ทดลองโดยสร้างแม่แบบที่มีรากเทียมฝังอยู่บนฐานโลหะสี่เหลี่ยม 2 ตัว ตัวหลักแต่ละตัวที่ติดอยู่กับรากเทียมจะทำเครื่องหมายที่ขอบด้านบนเพื่อเป็นจุดอ้างอิง 3 จุด รวมเป็น 6 จุด ทำการพิมพ์ด้วยวัสดุพิมพ์ซิลิโคน แอดดิชั่นแนล ด้วยวิธีต่างๆแล้วนำไปเทแบบจำลองด้วยปูนหินชนิดที่ 4 จากนั้นนำแบบจำลองเหล่านี้ไปวัดระยะทางของจุดอ้างอิงที่มีการเบี่ยงเบนไปเมื่อเทียบกับแม่แบบ โดยใช้เครื่อง measurement microscope ที่ระดับความละเอียด 1/1000 มิลลิเมตร ซึ่งวัดในรูปพิกัด (x, y, z) เพื่อศึกษาทิศทางการเบี่ยงเบน และใช้ทฤษฎี ปีทากอรัส เปลี่ยนพิกัดที่ได้เป็นระยะทางที่มีการเบี่ยงเบนไป แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลโดยใช้โปรแกรมเอสพีเอสเอสเวอร์ชั่น 10.5 ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มโดยสถิติ Tamhane test ซึ่งแยกพิจารณาทีละจุดอ้างอิงทั้ง 6 จุด ผลการศึกษา แบบจำลองที่ได้จากวิธีพิมพ์โดยไม่ใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดเช่นเดียวกับฟันปลอมติดแน่นบนฟันธรรมชาติ มีการเบี่ยงเบนไปจากแม่แบบน้อยกว่าวิธีพิมพ์วิธีพิมพ์โดยตรงแบบใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดร่วม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ทั้ง 6 จุด (p=0.001, 0.000, 0.000, 0.002, 0.003, 0.000 ตามลำดับ) และน้อยกว่าวิธีพิมพ์โดยตรงแบบใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดและทำการเชื่อมติดกับถาดพิมพ์ (p=0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000 ตามลำดับ) ส่วนวิธีพิมพ์โดยตรงทั้งแบบที่ทำการเชื่อมและไม่เชื่อมตัวต่อยอดถ่ายทอดเข้ากับถาดพิมพ์นั้น แบบจำลองที่ได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.446, 0.980, 0.212, 0.073, 0.108, 0.566 ตามลำดับ) สรุป วิธีพิมพ์โดยไม่ใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดเช่นเดียวกับฟันปลอมติดแน่นบนฟันธรรมชาติ จะให้แบบจำลองที่มีความเที่ยงตรงสูงที่สุด ส่วนวิธีพิมพ์โดยตรง การเชื่อมหรือไม่เชื่อมตัวต่อยอดถ่ายทอดนั้นไม่มีผลกับความเที่ยงตรงของแบบจำลอง คำสำคัญ: วิธีพิมพ์โดยไม่ใช้ตัวต่อยอดถ่ายทอดเช่นเดียวกับฟันปลอมติดแน่นบนฟันธรรมชาติ; รากเทียม; วิธีพิมพ์รากเทียม; ความเที่ยงตรง; ตัวต่อยอดถ่ายทอด Objective To investigate the accuracy of the master casts from three different implant impression techniques. The master casts were compared with the master model. Materials and methods Thirty master casts were divided into 3 groups according to 3 impression techniques. Group 1 conventional impression technique, group 2 direct implant impression technique and group 3 direct splint implant impression technique. The master model composed of 2 implants embeded in rectangular metal base with 3 reference points on the shoulder of each abutment. The master model was duplicated by additional silicone with three impression techniques then the impressions were poured with type IV stone. The dimensional changes of master casts were measured by measurement microscope at resolution 1/1000 mm. The results shown in coordinate point (x,y,z) for studying the direction of errors then changed the coordinate points to true dimensional changes by Pythagoras’ theory. Each reference point were analyzed by One-way ANOVA and Tamhane Test. Result The master casts from The conventional impression technique had significantly less dimensional changes than The direct impression technique in all reference points (p=0.001, 0.000, 0.000, 0.002, 0.003, 0.000 respectively) and the direct splint impression technique (p=0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000). The master casts from the direct impression technique was not significantly different from the direct splint impression technique (p=0.446, 0.980, 0.212, 0.073, 0.108, 0.566). Conclusion The conventional impression technique had the most accuracy and splint transfer coping did not affect the accuracy of the master casts. 2012-07-08T04:22:04Z 2012-07-08T04:22:04Z 2550 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20592 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3346114 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย