ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา

วิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อัษมา มหาพสุธานนท์
Other Authors: ตรีศิลป์ บุญขจร
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2012
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20765
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Chulalongkorn University
Language: Thai
id th-cuir.20765
record_format dspace
spelling th-cuir.207652012-07-12T14:09:27Z ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา Chinese womanhood in Post-Mao women's novels อัษมา มหาพสุธานนท์ ตรีศิลป์ บุญขจร ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ สตรี -- จีน สตรี -- จีน -- ภาวะสังคม นักประพันธ์สตรีจีน ความเป็นหญิงในวรรณกรรมจีน ปริญญาดุษฎีบัณฑิต อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต วิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความหมายของความเป็นหญิงอันหลากหลายของสตรีจีนในช่วงหลังเหมาของจีนโดยเฉพาะ ตั้งแต่ค.ศ.1985 จนถึงต้นศตวรรษที่ 21 ที่ปรากฏในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนและเพื่อศึกษาบริบททางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมจีนที่สัมพันธ์กับความหมายของความเป็นหญิงที่ปรากฏในนวนิยายดังกล่าวโดยศึกษาในมุมมองของปัญญาชนหญิงจีนในเมือง จากการศึกษาพบว่าภาพความเป็นหญิง โดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับความรัก เพศวิถีและความเป็นปัจเจกของผู้หญิงจีนในช่วงนี้ได้พัฒนาจากการตั้งคำถามและการโต้กลับแนวคิดของลัทธิขงจื่อและอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในเรื่องการเก็บกลั้นความรู้สึก การแต่งงานที่ไร้รัก การรักษาพรหมจรรย์ การปิดกั้นทางเพศวิถี และการทบทวนการทำเพื่อส่วนรวม ไปสู่ความรัก เพศวิถีและความเป็นปัจเจกที่เป็นผลมาจากการมีปฏิสัมพันธ์กับโลกาภิวัตน์ ทุนนิยม และบริโภคนิยม รวมทั้งเป็นการนิยามความหมายใหม่ของความเป็นหญิงจีน This dissertation aims at analyzing the various meanings of Chinese womanhood in Post-Mao’s women’s novels, particularly from 1985 to the early years of the 21st century, and looking into the relationship between the Chinese historical, social and cultural context with the meanings of womanhood from the urban female intellectuals’ point of views. The study reveals that the representation of womanhood, particularly in terms of love, sexuality and individuality of Chinese women in this time has developed from the conflicts with Confucius’ ideologies and Mao’s, namely - the emotional restraint, loveless marriages, values on chastity, ban on sexuality and collectivism - into the new definition of womanhood with love, sexuality and individuality which results from the interaction with globalization, capitalism and consumerism. 2012-07-12T14:09:26Z 2012-07-12T14:09:26Z 2553 Thesis http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20765 th จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2718058 bytes application/pdf application/pdf จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
institution Chulalongkorn University
building Chulalongkorn University Library
country Thailand
collection Chulalongkorn University Intellectual Repository
language Thai
topic สตรี -- จีน
สตรี -- จีน -- ภาวะสังคม
นักประพันธ์สตรีจีน
ความเป็นหญิงในวรรณกรรมจีน
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต
spellingShingle สตรี -- จีน
สตรี -- จีน -- ภาวะสังคม
นักประพันธ์สตรีจีน
ความเป็นหญิงในวรรณกรรมจีน
ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต
อัษมา มหาพสุธานนท์
ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
description วิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
author2 ตรีศิลป์ บุญขจร
author_facet ตรีศิลป์ บุญขจร
อัษมา มหาพสุธานนท์
format Theses and Dissertations
author อัษมา มหาพสุธานนท์
author_sort อัษมา มหาพสุธานนท์
title ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
title_short ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
title_full ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
title_fullStr ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
title_full_unstemmed ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
title_sort ความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมา
publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
publishDate 2012
url http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20765
_version_ 1681412391577845760